Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1574
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุริยะใส กตะศิลา | - |
dc.contributor.author | ณัชพล ตันเจริญ | - |
dc.date.accessioned | 2023-02-28T02:31:24Z | - |
dc.date.available | 2023-02-28T02:31:24Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1574 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ปร.ด. (ผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564 | en_US |
dc.description.abstract | วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์นโยบายการพัฒนาพลังงานแห่งชาติ: โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่-เทพา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษากระบวนการกำหนดนโยบายด้านพลังงานของภาครัฐ ตามแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย ในกรอบ 10 ปี 2) เพื่อวิเคราะห์ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากภาคปฏิบัติของนโยบายทางด้านพลังงาน โดยใช้กรอบแนวคิดทางวาทกรรมเชิงวิพากษ์ 3) เพื่อนำเสนอแนวทางการบริหารจัดการ และกำหนดนโยบายด้านพลังงานของภาครัฐอย่างเหมาะสม โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งอาศัยทฤษฎีแนววิพากษ์และใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกร่วมกับการสังเกตการณ์ผู้กำหนดนโยบาย ภาคประชาชน กลุ่มองค์กรเอกชนในพื้นที่ และกลุ่มนักวิชาการทั่วไป รวมทั้งองค์กรอิสระ ทั้งนี้ ผลการศึกษาพบว่า 1) กระบวนการกำหนดนโยบายด้านพลังงานของภาครัฐ ได้ใช้อำนาจของกลไกการบริหารแบบบนสู่ล่างในการกำหนดความต้องการการใช้ไฟฟ้า และความจำเป็นในการก่อสร้างโครงการโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ของประเทศ 2)เกิดความขัดแย้ง โดยเฉพาะผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน ซึ่งสะท้อนให้เห็นภาคปฏิบัติของนโยบายที่ไม่ตรงกับปัญหาข้อเท็จจริงในพื้นที่ และนำไปสู่การเคลื่อนไหวต่อต้าน 3) พลังงานทางเลือกเป็นแนวทางการบริหารจัดการด้านพลังงานตามเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ 4) ควรสร้างความสมดุลระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจกับการรักษาสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศควบคู่กัน กรณีศึกษาโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่-เทพาเกิดจุดแตกหักทางสังคมเมื่อความเห็นไม่ลงรอย ต่างฝ่ายต่างมีเหตุผลสนับสนุนในกลุ่มของตนเอง เข้าสู่พลวัตรแห่งการประท้วงเรียกร้องซึ่งไม่ใช่เป็นการทำเพื่อกลุ่มของตนเองหรือชุมชนเท่านั้น หากแต่เป็นการรณรงค์วาระแห่งชาติทางด้านพลังงานที่สำคัญของประเทศไทย | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | พลังงาน -- การจัดการ | en_US |
dc.subject | โรงไฟฟ้า -- ไทย -- กระบี่ -- ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม | en_US |
dc.subject | โรงไฟฟ้าพลังถ่านหิน | en_US |
dc.title | วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์นโยบายการพัฒนาพลังงานแห่งชาติ : โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่-เทพา | en_US |
dc.title.alternative | Critical discourse analysis for national energy development policy: a case study of coal power plant in Krabi-Thepha | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The objectives of the research were 1) to study the energy policy-making process of the public sector according to Thailand’s 10-year Power Development Plan, 2) to analyze the conflicts over the practice of the energy policy, using a critical discourse framework towards government energy policy, 3) to propose a management guideline and a proper energy policy formulation. The current study employed a qualitative approach, utilizing critical theory-based research, including in-depth interviews and observations of policymakers, villagers, the public sector, and general academicians, as well as independent organizations. Therefore, the results showed that 1) The government's energy policy-making process relies on the top-down management that essentially involves determining the country's electricity needs and the power plant construction needs. 2) The conflicts were related to the effects on the environment and people’s health. The policy formulation and policy practice did not reflect the reality, so villagers held protests against this project. 3) An alternative energy should be established by the government's energy policy according to the Sustainable Development Goals. 4) A need to balance economic development with environmental and ecological conservation is required. The Krabi and The phacoal power plant construction project has been developed for many years with a social breaking point, based on the strong disagreement raised by the community. Each party established its own thought and opinion regarding the different reasons towards a factual finding that was not just for their own group, contributing to Thailand's energy agenda | en_US |
dc.description.degree-name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | ผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง | en_US |
Appears in Collections: | CSI-LSBP-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
NUTCHAPOL TANCHAREON.pdf | 3.96 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.