Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1577
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัชกร ธิติลักษณ์-
dc.contributor.authorเจ จันทร์ศุภฤกษ์-
dc.date.accessioned2023-02-28T02:46:26Z-
dc.date.available2023-02-28T02:46:26Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1577-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ปร.ด. (ผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564en_US
dc.description.abstractการวิจัยชิ้นนี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อรวบรวมข้อมูลของวิสาหกิจเพื่อสังคมจากประเทศต่าง ๆ และนำมาเทียบกับ วิสาหกิจเพื่อสังคมในประเทศไทย 2) เพื่อชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการนำนโยบายวิสาหกิจเพื่อสังคมมาใช้ และสะท้อนข้อเสนอแนะสำหรับการออกแบบพระราชบัญัญัติส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม 3) เพื่อสังเคราะห์แนวทางการออกแบบและขับเคลื่อนนโยบายวิสาหกิจ เพื่อสังคมของประเทศไทย โดยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์วิสาหกิจเพื่อสังคม หรือกิจการที่มีแนวคิดในการพัฒนาสังคมในรูปแบบต่าง ๆ ถึงแนวคิดในการก่อตั้ง และการดำเนินเป็นจำนวนรวมทั้สิ้น 68 องค์กร/หน่วยงาน โดยแบ่งกลุ่มเป้าหมายในการวิจัยเป็นสามกลุ่มหลักๆ คือ 1) กลุ่มผู้ประกอบการ 2) กลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวของกับการออกแบบนโยบาย 3) องค์กรภาคประชาสังคม และองค์กรเอกชนรวมถึงประชาชนทั่วไปในชุมชนที่จะได้รับผลกระทบจากการดำเนินกิจการเพื่อสังคม พบว่าการขับเคลื่อนนโยบายวิสาหกิจเพื่อสังคมในประเทศไทยนั้นควรมีการพิจารณาบริบททางสังคมและลักษณะของกิจการร่วมด้วย โดยสามารถแบ่งประเภทการก่อกำเนิดกิจการออกเป็นแบบบนลงล่าง (Top Down) หรือล่างขึ้นบน (Bottom Up) และควรเปิดกว้างในเรื่องข้อกำหนดต่าง ๆ ในห้าหมวดหลัก คือ 1) การจำกัด ความวิสาหกิจเพื่อสังคม ควรลดข้อบังคับ เรื่องการจัดการรายรับรายจ่ายของกิจการให้น้อยที่สุด และเพิ่มความยืดหยุ่นให้มากที่สุด 2) กระบวนการ ลดหย่อนภาษี 3) มาตรการส่งเสริมในรูปแบบต่าง ๆ 4) กองทุนส่งเสริมกิจการเพื่อ 5) ระบบติดตามประเมินผลของกิจการเพื่อสังคม ซึ่งทั้งห้าข้อที่กล่าวไปแล้วนั้นล้วนต้องสอดคล้องและเป็นไปในทางเดียวกับปัจจัยแห่งความสำเร็จทั้ง 3 ข้อของวิสาหกิจเพื่อสังคมนั่นก็คือ 1) ภาวะผู้นำและการดำเนินการ 2) การมีส่วนร่วมจากประชาชน และ 3) การบูรณาการความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ จึงจะทำให้วิสาหกิจเพื่อสังคมในประเทศไทยประสบความสำเร็จได้อย่างยั่งยืนต่อไปen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการวางแผนทางสังคม -- ไทยen_US
dc.subjectวิสาหกิจเพื่อสังคมen_US
dc.subjectไทย -- นโยบายเศรษฐกิจen_US
dc.titleนโยบายวิสาหกิจเพื่อสังคมในบริบทของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeSocial enterprise policy in Thailand contexten_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purposes of this research were 1) to collect data on social enterprises (SE) from different countries, being compared with SE in Thailand, 2) to identify the importance of implementing the social enterprise policy and reflect the constrain of the Social Enterprise Promotion Act in Thailand, and 3) to synthesize guidelines for designing and driving the social enterprise policy of Thailand. In the study, the qualitative methodology was employed by interviewing social enterprises or organization with social purpose for the inspiration of establishment and operations. The participants included 68 organizations/agencies, divided into three main groups: 1) social entrepreneur, 2) policy designer, and 3) civil society and nongovernmental organizations, including the general public in the community who will be affected by SE activities The results showed that driving the SE policy in Thailand should take into account in the social context. The types of enterprise establishment can be categorized into top-down SE or bottom-up SE, using the same principles as the start-up phase for business into consideration. The policy should be open to broader participants and enhancing the support in five main areas: 1)Definition and registration of SE should be more flexible, 2) Tax exemption mechanism is important for stimulating participation from the general public, 3) Promotion measures in various forms is an important tool in driving the policy, 4) SE Promotion Fund and cooperation from various sectors should be integrated to drive the sustainability, and 5) SE performance monitoring system should be clear, simple, and easy to follow. All five of the above must be aligned with the three success factors of a social enterprise: 1) leadership, 2) awareness and participation from public, and 3) integrating cooperation from various sectorsen_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมืองen_US
Appears in Collections:CSI-LSBP-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
JAY CHUNSUPARERK.pdf14.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.