Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1590
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | คณิตศร เทอดเผ่าพงศ์ | - |
dc.contributor.author | วิภาเพ็ญ จิกเวียง | - |
dc.date.accessioned | 2023-02-28T04:59:29Z | - |
dc.date.available | 2023-02-28T04:59:29Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1590 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บ.ม. (บัญชี)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับโครงสร้างเงินทุนของธุรกิจการเงินไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มอุตสาหกรรมการเงิน ประกอบด้วย หมวดธุรกิจธนาคาร และธุรกิจเงินทุนและหลักทรัพย์ โดยเก็บข้อมูลในช่วงปี พ.ศ. 2561 – 2563 จากฐานข้อมูล SETSMARTS และใช้วิธีวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ คือ ความสามารถในการทำกำไร (อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม) ความมีตัวตนของสินทรัพย์ (อัตราส่วนสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ประเภทที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ต่อสินทรัพย์รวม) ขนาดของบริษัท และอัตราการเติบโตของสินทรัพย์รวม ว่ามีความสัมพันธ์ในเชิงบวกหรือเชิงลบกับตัวแปรตาม คือโครงสร้างเงินทุนของธุรกิจการเงินไทย ซึ่งวัดค่าด้วยอัตราส่วนหนี้สิน ผลการศึกษาพบว่า อัตราส่วนสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ประเภทที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ต่อสินทรัพย์รวม (FIXA) ขนาดของบริษัท (SIZE) และอัตราส่วนหนี้สิน (DEBT) ของธุรกิจธนาคารและธุรกิจเงินทุนและหลักทรัพย์แตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้ยังพบว่าอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (PROA) มีความสัมพันธ์เชิงลบกับโครงสร้างเงินทุน (DEBT) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่ อัตราส่วนสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ประเภทที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ต่อสินทรัพย์รวม (FIXA) และ ขนาดของบริษัท (SIZE) พบว่ามีความสัมพันธ์เชิงบวกกับโครงสร้างเงินทุน (DEBT) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งความสัมพันธ์ที่พบเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ อย่างไรก็ตาม ไม่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างอัตราการเติบโตของสินทรัพย์รวม (AGRW) กับโครงสร้างเงินทุน (DEBT) ของธุรกิจการเงินไทย | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ธุรกิจ -- การเงิน | en_US |
dc.subject | การเปลี่ยนแปลงสินทรัพย์ | en_US |
dc.subject | ทุน (เศรษฐศาสตร์) -- ไทย | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่สัมพันธ์กับโครงสร้างเงินทุนของธุรกิจการเงินไทย | en_US |
dc.title.alternative | Factors related to the capital structure of Thai financial industry | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This study aims to study the factors related to the capital structure of the Thai financial industry, in which the samples consist of banks and finance and security companies listed in the Stock Exchange of Thailand. The collected data are from 2018 - 2020, which were derived from the SETSMART database. The study employed a multiple regression analysis for investigating the relationships between the independent variables, namely – profitability (PROA), tangible assets (FIXA), firm size (SIZE), assets growth (AGRW) and the dependent variable - debt ratio (DEBT). The study found that the variables - tangible assets (FIXA), firm size (SIZE) and debt ratio (DEBT) are statistically different when the comparative study between bank group and finance and security group is concerned. Besides, it was found that profitability ratio (PROA) has a negative relationship with capital structure (DEBT) statistically, while tangible assets (FIXA) and firm size (SIZE) have a statistically and significantly positive relationships with debt ratio (DEBT). These findings aligned with the set hypotheses. However, there was no statistically significant relationship between the firm growth (AGRW) and the capital structure of the Thai financial industry | en_US |
dc.description.degree-name | บัญชีมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | บัญชี | en_US |
Appears in Collections: | ACC-Acc-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
LIEUTENANT JUNIOR GRADE VIPAPEN CHIGVIANG, WRTN.pdf | 1.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.