Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1630
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สิริมา กิจวัฒนชัย | - |
dc.date.accessioned | 2023-04-03T03:54:15Z | - |
dc.date.available | 2023-04-03T03:54:15Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1630 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราการปนเปื้อนของเชื้ออะแคนทามีบา ในตลับคอนแทคเลนส์ และศึกษาข้อมูลการใช้การดูแลรักษาคอนแทคเลนส์ของนักศึกษากลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยรังสิตที่ใช้คอนแทคเลนส์แบบรายเดือนถึงรายปี ระหว่างเดือนเมษายน-ตุลาคม พ.ศ.2556 โดยทำการตรวจเชื้ออะแคนทามีบาในตลับคอนแทคเลนส์ ด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเชื้อใน non-nutrient agar ที่เคลือบด้วย non-active Escherichia coli โดยการศึกษาครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมโครงการส่งตลับคอนแทคเลนส์ทั้งสิ้น 102 คน เป็นนักศึกษากลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ คิดเป็นร้อยละ 87.9 ของจำนวนนักศึกษาที่ใช้คอนแทคเลนส์รายเดือน โดยคณะเทคนิคการแพทย์ ส่งตรวจและส่งข้อมูลกลับมากที่สุด ร้อยละ 18.1 และเป็นผู้บริจาคร้อยละ 12.1 จากผลการเพาะเลี้ยงอะแคนทามีบาจากตลับคอนแทคเลนส์ของนักศึกษาในกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพไม่พบเชื้อจากตลับทั้งหมดที่ส่งตรวจแต่จากการตอบแบบสอบถามพบว่านักศึกษากลุ่มดังกล่าวยังมีพฤติกรรมการใช้ หรือดูแลรักษาคอนแทคเลนส์ไม่ถูกต้องสูง ได้แก่ สัมผัสคอนแทคเลนส์โดยไม่ล้างมือฟอกสบู่ ร้อยละ 52.7 ไม่ได้รับการตรวจตาจากจักษุแพทย์ ร้อยละ 50.9 เมื่อมีความผิดปกติเกี่ยวกับตาไม่พบแพทย์ ร้อยละ 44.8 ใส่คอนแทคเลนส์ขณะว่ายน้ำ ร้อยละ 40.5 ไม่เปลี่ยนตลับแช่คอนแทคเลนส์ทุกเดือน ร้อยละ 40.5 เป็นต้น ซึ่งปัจจัยเหล่านี้เป็นปัจจัยที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้ออะแคนทามีบา ซึ่งยังพบมากในสิ่งแวดล้อม | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | เลนส์สัมผัส -- วิจัย | en_US |
dc.subject | อะแคนทามีบา -- วิจัย | en_US |
dc.title | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยการปนเปื้อนของเชื้ออะแคนทามีบาในตลับแช่น้ำยาคอนแทคเลนส์ในนักศึกษากลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.title.alternative | Contamination of acanthamoeba spp. in contact lens cases from health science students of Rangsit University | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | This study aims to evaluate the contamination rate of Acanthamoeba spp. in contact lens cases and to study the behavior of the health science students, Rangsit University in using monthly or yearly contact lens from April to October 2013.To determine Acanthamoeba spp. contamination in contact lens cases using culture method in non-nutrient agar, which was coated by non-active Escherichia coli. A total of 102 students submitted their contact lens cases. It was estimated that 87.9% of health science students were using monthly contact lens. The majority of students, who sent their cases and their questionnaires, were from Medical Technology faculty (18.1%) and 12.1% were donors of cases. The results of Acanthamoeba spp. culture from contact lens cases of the health science students has shown that no Acanthamoeba spp. were found in all cases. However, the questionnaires have revealed that the students had not taken care of their cases correctly. It was found that 52.7% did not wash their hands before touching the contact lens, 50.9% of students did not get an eye examination from an ophthalmologist, 44.8% of the students had eye problems and did not go to meet doctors, 40.5% had used contact lens while swimming, and 40.5% did not change contact lens cases every 1-2 months. These might be risk factors contributing to the contamination of Acanthamoeba spp. which are still prevalent in the environment | en_US |
Appears in Collections: | MeT-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sirima Kivatanachai.pdf | 2.86 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.