Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1647
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัตพงษ์ สอนสุขภาพ, จิรัชฌา วิเชียรปัญญา-
dc.contributor.authorเกศราภรณ์ พลสีลา-
dc.date.accessioned2023-06-01T07:41:30Z-
dc.date.available2023-06-01T07:41:30Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1647-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (ผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ที่สำคัญ คือ (1) เพื่อสังเคราะห์ตัวแบบของทุนมนุษย์ (2) เพื่อหาตัวแบบของทุนมนุษย์ ทุนการจัดการ และการประเมินผลทุนมนุษย์ของโรงพยาบาลชุมชนที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (3) เพื่อศึกษาความตรงเชิงโครงสร้างของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแบบทุนมนุษย์ ทุนการจัดการ และการประเมินผลทุนมนุษย์ และ (4 ) เพื่อนำเสนอตัวแบบทุน มนุษย์ของโรงพยาบาลชุมชนที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพด้วยวิธีการพิจารณาความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยง ซึ่งมีค่าความเที่ยงของแบบสอบถามทั้งฉบับคือ 0.8828 เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างคือ (1) ผู้บริหารโรงพยาบาล (2) ผู้ประสานงานคุณภาพ และ (3) ผู้ปฏิบัติงานโรงพยาบาลชุมชนที่ผ่านการประเมินทั้งจังหวัด จำนวน 4 รวม 24 โรงพยาบาล จำนวน 630 ท่าน และใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักวิชาการ 2 ท่าน ผู้บริหารและผู้ดูแลระบบคุณภาพโรงพยาบาลชุมชน 2 ท่าน และผู้รับบริการ 4 ท่าน รวมทั้งหมดจานวน 8 ท่าน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณคือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับ 2 และใช้การวิเคราะห์เนื้อหาสาหรับวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการศึกษาพบว่า องค์ประกอบส่วนใหญ่มีลักษณะความสัมพันธ์ทางบวก มีขนาดตั้งแต่ 0.40 ถึง 0.79 โดยองค์ประกอบทุนทางสังคมและทุนทางอารมณ์มีความสัมพันธ์กันสูงสุด ทั้งนี้โดยที่องค์ประกอบทุนมนุษย์ที่มีค่าน้ำหนักมากที่สุดคือ ทุนทางสังคม ส่วนองค์ประกอบทุนการจัดการที่มีค่าน้าหนักมากที่สุดคือ ทุนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และองค์ประกอบการประเมินผลทุนมนุษย์ที่มีค่าน้ำหนักมากที่สุดคือ มุมมองด้านกระบวนการภายใน ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สองด้วยโปรแกรมลิสเรล พบว่าโมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พิจารณาจากค่าไคสแควร์ มีค่าเท่ากับ 5.16 ซึ่งมีความน่าจะเป็นเท่ากับ 0.51 นั่นคือค่า ไคสแควร์แตกต่างจากศูนย์อย่างไม่มีนัยสำคัญ โดยมีค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน เท่ากับ 0.99 และค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้วมีค่าเท่ากับ 0.98 และค่าน้ำหนักของทั้ง 3 องค์ประกอบเรียงลำดับจากมากไปน้อยคือ ทุนกระบวนการ (b= 1.22) การประเมินผลทุนมนุษย์ (b=1.06) และทุนมนุษย์ (b=1.04)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectทุนมนุษย์en_US
dc.subjectโรงพยาบาลชุมชน -- ไทย -- วิจัยen_US
dc.titleตัวแบบทุนมนุษย์ของโรงพยาบาลชุมชนen_US
dc.title.alternativeHuman capital model of community hospitalsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purposes of this research were (1) to synthesize the human capital model (2) to find the human capital model, managerial capital model and human capital evaluation model of community hospitals (3) to study the construct validity of the relationship among human capital model, managerial capital model and human capital evaluation model of community hospitals and (4) to present human capital model of community hospital. The survey research conducted by using a questionnaire collected data from 24 of quality accredited rural hospitals in 4 provinces. Validity and reliability test were used to indicate the degree to which research instruments were capable of achieving certain aims. The reliability of the questionnaire was 0.8828. Using in-depth interview collected data from two hospital scholar, a hospital director, a hospital quality system administrator and four participants. The data were analyzed by frequency distribution, percentage, arithmetic mean, standard deviation, second order confirmatory factor analysis and content analysis. The research found that the most factor loading of human capital model was social capital while as the most factor loading of managerial capital model was human resources development capital and the most factor loading of human capital evaluation model was internal process perspective. The result from second order confirmatory factor analysis found that the human capital model of community hospitals was fit to the empirical data ( 2 χ = 5.16, df = 6, p = 0.523, GFI = 0.99, AGFI = 0.98). The factor loading of human capital model of community hospitals were managerial capital (b= 1.22), human capital evaluation (b=1.06) and human capital (b=1.04) respectively.en_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมืองen_US
Appears in Collections:CSI-LSBP-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
KETSARAPORN POLSEELA.pdf5.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.