Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1667
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประทุม แป้นสุวรรณ | - |
dc.contributor.author | อันวิดา อภิจารี | - |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T08:29:08Z | - |
dc.date.available | 2023-06-06T08:29:08Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1667 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556 | en_US |
dc.description.abstract | ความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูในสถานศึกษาเอกชนสังกัด พื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2 เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาตามความ คิดเห็นของครู ในสถานศึกษาเอกชนสังกัดพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับ ความขัดแย้งในการบริหารและเปรียบเทียบการทำงานในสถานศึกษา จำแนกตามเพศ อายุ ระดับ การศึกษา และประสบการณ์ในการทางาน ตามความคิดเห็นของครูในสถานศึกษาเอกชน สังกัด พื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2 3) เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาและข้อเสนอแนะ ประชากรที่ใช้ใน การวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 60 โรงเรียนกลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ในโรงเรียนเอกชน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Simple Random Sampling) จำนวน 200 คน ตัวแปรที่อิสระ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ประสบการณ์ในการดารงตำแหน่ง ขนาดของโรงเรียน ตัวแปรตาม ได้แก่ ด้านการยอมให้ ด้านการ หลีกเลี่ยง ด้านการประนีประนอม ด้านการเอาชนะ ด้านการร่วมมือ ด้านการเผชิญหน้า และด้านการ บังคับ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำเร็จรูปในการวิเคราะห์ ค่าสถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ(Percentage) ค่าเฉลี่ย ( x̄ ) และ ค่าสถิติ (f-test), (t-test) ผลการวิจัยมีดังนี้ 1) การบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู ใน สถานศึกษาเอกชนสังกัดพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2 มีค่าเฉลี่ยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการเผชิญหน้าและด้านการประนีประนอม มีค่าเฉลี่ยในระดับมาก ที่สุด และด้านการหลีกเลี่ยงมีค่าเฉลี่ยในระดับปานกลาง 2) เปรียบเทียบระดับความขัดแย้งในการบริหารและเปรียบเทียบการทางานในสถานศึกษา จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน ตามความคิดเห็นของครูในสถานศึกษาเอกชน สังกัดพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2 ผลการทดสอบสมมติฐาน เพศ, อายุ, ระดับการศึกษา, สถานภาพ, ขนาดสถานศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน พบว่า การบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ศึกษานนทบุรี เขต 2 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 3) ข้อมูลด้านข้อเสนอแนะความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาทั้ง 7 ด้าน ด้านการประนีประนอมมีผู้เสนอแนะมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 21 รองลงมาด้านการยอมให้ ร้อยละ 17.5 และด้านการร่วมมือ ร้อยละ 4.5 | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ผู้บริหารสถานศึกษา -- แง่ศิลธรรมจรรยา -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ผู้บริหารสถานศึกษา -- นนทบุรี -- วิจัย | en_US |
dc.subject | โรงเรียนเอกชน -- ผู้บริหาร -- วิจัย -- นนทบุรี | en_US |
dc.title | ความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูในสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2 | en_US |
dc.title.alternative | Conflict of private kindergarten school adminitrators in the viewpoint of teachers, under office of education area 2 Nonthaburi province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The study of conflict of private kindergarten school administrators in the viewpoint of teachers, under office of education area 2 Nonthaburi province aimed to 1) study Conflict of private kindergarten school administrators in the viewpoint of teachers, under office of education area 2 Nonthaburi province 2) to compare the level of conflict in administration and compare work in school according to gender, age, level of education and work experience in the viewpoint of teachers in private school in area 2, Nonthaburi province 3) to study problem and recommendation. Most population used in this research was school administrators. 60 sample schools used in this research were school administrators. The amount of experimental group, which was 200 people, was simply set. Independent variables were gender, age, level of education, marriage status, experience in a certain position, and size of school. Dependent variables were submission, avoidance, compromise, overcoming, cooperation, confronting, and enforcement by using questionnaires as a method in this research. Statistics used in this research are percentage, average ( x̄ ), and statistic (f-test), (t-test). Finding 1) Conflict of private kindergarten school administrators in the viewpoint of teachers, under office of education area 2, Nonthaburi province showed high overall image of average. Considering each dependent variable, the researchers found that confronting and compromise revealed high average and avoidance had fair average. 2) When comparing the level of administrations and comparing work in school according to gender, age, level of education and work experience in the viewpoint of teachers in private school in area 2, Nonthaburi province, the result of testing hypothesis according to gender, age, level of education, status, size of school showed that conflict management of private school administrators had the significant statistical differences as 0.5. The hypothesis which mentioned that work experiences which were different in each people may have an effect on conflict management of private school administration had no difference. 3) For information in suggestion of conflict of school administrators in 7 aspects, compromise was most recommended as 21 percent. The next were submission as 17.5 percent and cooperation as 4.5 percent. | en_US |
dc.description.degree-name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การบริหารการศึกษา | en_US |
Appears in Collections: | EDU-EA-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ANVIDA APICHARI.pdf | 3.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.