Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1668
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประทุม แป้นสุวรรณ-
dc.contributor.authorภาคภูมิ ลอดทอน-
dc.date.accessioned2023-06-06T08:33:55Z-
dc.date.available2023-06-06T08:33:55Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1668-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความพึงพอใจของครูโรงเรียน มัธยมศึกษาเกี่ยวกับสภาพการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 40 กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 40 จำนวน 39 โรงเรียน จำนวน 310 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็น แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .85 การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบ แบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) และสถิติที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( x ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบสมมติฐานการวิจัยใช้ค่า Z-test ผลการวิจัยพบว่า 1) ความพึงพอใจของครู โรงเรียนมัธยมศึกษาเกี่ยวกับสภาพการบริหารโดยใช้โรงเรียน เป็นฐาน โรงเรียนมัธยมศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 ในภาพรวม พบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.64 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการ บริหารวิชาการ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เท่ากับ 3.72 รองลงมา คือ ด้านการ บริหารงานบุคคล มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เท่ากับ 3.68 ด้านการบริหารงานทั่วไป มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมาก เท่ากับ 3.63 และด้านการบริหารงานงบประมาณ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เท่ากับ 3.53 2) ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาเกี่ยวกับสภาพการบริหาร โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยจำแนกตามเพศ และวุฒิการศึกษาสูงสุด พบว่าไม่ แตกต่างกัน 3) ผลการศึกษาข้อเสนอแนะ ความพึงพอใจของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในการบริหาร โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน พบว่า ครูมีความพึงพอใจโรงเรียนจัดทำดำเนินการวัดผลประเมินผลและ เทียบโอนผลการเรียน โรงเรียนพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอน และความ พึงพอใจน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านงบประมาณ โรงเรียนได้รับงบประมาณจำกัดen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบูรณ์ -- วิจัยen_US
dc.subjectครู -- ความพอใจในการทำงาน -- วิจัยen_US
dc.subjectครู -- โรงเรียนมัธยมศึกษา -- วิจัยen_US
dc.titleความพึงพอใจของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 เพชรบูรณ์en_US
dc.title.alternativeSatisfaction of secondary school teachers on using school based management under the office of secondary educational service area 40, Phetchabunen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purposes of this research were to study and compare the satisfaction of secondary school teachers on using school based management under the office of secondary educational service area 40, Phetchabun. The samples 310 were teachers of 39 schools under the office of secondary educational service area 40, Phetchabun. The research instrument was a 5 level rating scale questionnaire with the reliability of .85. They were selected by stratified random sampling. And the statistics used in this study were percentage, mean, standard deviation and Z-test. The research findings; 1) The satisfaction of secondary school teachers on using school based management under the office of secondary educational service area 40, Phetchabun. The overall satisfaction was at a high level of 3.64. When considering on the specifically were found that: the academic administration has the highest average level at 3.72, the personal administration has a high average level at 3.68, the general administration has a high average level at 3.63, and the budget administration has a high average level at 3.53. 2) The result of comparison of the satisfaction of secondary school teachers on using school based management under the office of secondary educational service area 40, Phetchabun, classified namely by sex and educational level where there was no difference. 3) The result of the suggestions on the study of the satisfaction of secondary school teachers on using school based management under the office of secondary educational service area 40, Phetchabun was found that the teachers satisfaction school were used measurement and evaluation and transferred credit, developed and used the technology for teaching, and the lowest satisfaction is due to insufficient budget.en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการบริหารการศึกษาen_US
Appears in Collections:EDU-EA-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PAKPOOM LODTON.pdf3.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.