Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1676
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประทุม แป้นสุวรรณ-
dc.contributor.authorพระครูอุปถัมภ์พัฒนกิจ-
dc.date.accessioned2023-06-08T02:06:35Z-
dc.date.available2023-06-08T02:06:35Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1676-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสภาพการดำเนินงานของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 และ เขต 2 ตัวแปรที่ศึกษาประกอบด้วย ตัวแปรอิสระ ได้แก่ คุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ จาแนกตาม เพศ อายุ ประสบการณ์ ระดับการศึกษา และขนาดของโรงเรียน และตัวแปรตาม ได้แก่ สภาพการดำเนินงานของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 และ เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 และ เขต 2 จำนวน 80 คน จากโรงเรียนขนาดเล็ก 63 คน และโรงเรียนขนาดใหญ่ 17 คน การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทดสอบค่าเฉลี่ยแบบรายคู่โดยวิธีการเชฟเฟ่ ผลการวิจัย มีดังนี้ 1) สภาพการดำเนินงานของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 และ เขต 2 มีสภาพการดำเนินงาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านบรรยากาศและปฏิสัมพันธ์ ด้านการบริหารจัดการ ด้านกิจกรรมพื้นฐานชีวิตด้านกายภาพ/สภาพแวดล้อม และด้านการเรียนการสอนตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบสภาพการดำเนินงานของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 และ เขต 2 จำแนกตาม เพศ อายุ ประสบการณ์การทำงาน ระดับการศึกษา และขนาดโรงเรียน โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน ส่วนจแนกตาม ด้านการเรียนการสอน และด้านบรรยากาศและปฏิสัมพันธ์ มีสภาพการดาเนินงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectโรงเรียนวิถีพุทธ -- การบริหาร -- ระยอง -- วิจัยen_US
dc.subjectโรงเรียนวิถีพุทธ -- ผู้บริหาร -- วิจัยen_US
dc.subjectโรงเรียนวิถีพุทธ -- วิจัยen_US
dc.titleสภาพการดำเนินงานของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 และเขต 2en_US
dc.title.alternativeOperational state of buddhism schools administrators' under Rayong primary educational service areas office1 and office 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research aimed to study and to compare operational state of Buddhism schools administrators’ under Rayong Primary Educational Service Areas Office 1 and Office 2. The research variables were independent variables, i.e. qualifications of school administrators, classified by genders, ages, work experiences, educational level and school sizes, and dependent variables, i.e. operational state of Buddhism schools administrators’ under Rayong Primary Educational Service Areas Office 1 and Office 2. The samples 80 were administrators’ of 63 small schools and 17 large schools under Rayong Primary Educational Service Areas Office 1 and Office 2. They were selected by stratified random sampling. The research instrument was a 5 level rating scale questionnaire with the reliability of .96. The statistics used in the data analysis were mean, standard deviation, t-test, one-way analysis of variance (one-way ANOVA), and Scheffe's multiple comparison test. The results showed that: 1) The operational state of Buddhism schools administrators’ under Rayong Primary Educational Service Areas Office 1 and Office 2 as a whole operation state was at a high level by arranging from most to least: atmosphere and interaction, management, life basic activities, physics and environment, and learning and teaching, respectively. 2) Comparison results of operational state of Buddhism schools administrators’ under Rayong Primary Educational Service Areas Office 1 and Office 2, classified by genders, ages, work experiences, educational level and school sizes as a whole and in various aspects had no difference, while classified by work experiences, learning and teaching and atmosphere and interaction had a statistically significant difference at the level of .05.en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการบริหารการศึกษาen_US
Appears in Collections:EDU-EA-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PHRAKHRUUPATAMPATTANAKIT.pdf3.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.