Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1678
Title: การศึกษาประสิทธิภาพการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 40 เพชรบูรณ์
Other Titles: A study of efficiency school based management under the office of secondary educational service area 40, Phetchabun
Authors: ดวงสมร ไกรลาสบวร
metadata.dc.contributor.advisor: ประทุม แป้นสุวรรณ
Keywords: โรงเรียนมัธยมศึกษา -- การบริหาร -- วิจัย;โรงเรียนมัธยมศึกษา -- การบริหาร -- เพชรบูรณ์ -- วิจัย
Issue Date: 2556
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 เพชรบูรณ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และคณะกรรมการสถานศึกษา โรงเรียน มัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 เพชรบูรณ์ จำนวน 39 โรงเรียน รวมทั้งสิ้นจำนวน 317 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ เป็นแบบสอบถามประสิทธิภาพการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 เพชรบูรณ์ มีค่าความ เชื่อมั่นเท่ากับ .83 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (Analysis of Variance: One-Way ANOVA) และ เปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธี S-Method ของ Scheffe’ Test ผลการวิจัย พบว่า 1) การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 เพชรบูรณ์ ในภาพรวม มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก ( X =3.61, S.D = 0.41) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า หลักการมีส่วนร่วม มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมาก เท่ากับ ( X =3.80, S.D = 0.59) รองลงมา คือ หลักการกระจายอำนาจ มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมาก ( X =3.69, S.D = 0.47) ส่วนหลักการคืนอำนาจการจัดการศึกษาให้แก่ประชาชน มี ค่าเฉลี่ยต่าที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง ( X =3.39, S.D = 0.44) 2) ผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียน มัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 เพชรบูรณ์ จำแนกตามขนาดของ โรงเรียน พบว่า โรงเรียนมัธยมที่มีขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ ขนาดใหญ่พิเศษ ที่ใช้การ บริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานมีประสิทธิภาพ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณา โรงเรียน พบว่า โรงเรียนมัธยมที่มีขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ ขนาดใหญ่พิเศษ ที่ใช้การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานมีประสิทธิภาพ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า หลักการกระจายอานาจ หลักการมีส่วนร่วม และหลักการตรวจสอบและถ่วงดุล มีประสิทธิภาพการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ส่วนหลักการคืนอำนาจการจัดการศึกษาให้แก่ประชาชน และหลักการบริหารตนเอง มีประสิทธิภาพการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งนี้ จากการเปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธี S-Method ของ Scheffe’ test พบว่า หลักการกระจายอำนาจ และหลักการตรวจสอบและถ่วงดุล ระหว่างโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ และขาดใหญ่พิเศษ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนหลักการมีส่วนร่วม ระหว่างโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดกลาง ไม่แตกต่างกัน
metadata.dc.description.other-abstract: The purposes of this research were to study and compare the efficiency of school based management in secondary schools under the office of secondary educational service area 40, Phetchabun. The samples 317 were administrators, teachers and education committees’ member of 39 schools under the office of secondary educational service area 40, Phetchabun. The research instrument was a 5 level rating scale questionnaire with the reliability of .83. The statistics used in this study were mean, percentage, standard deviation, One-Way ANOVA and comparison using SMethod of Scheffe’ test. The research findings: 1) The efficiency of school based management in secondary schools under the office of secondary educational service area 40, Phetchabun. The overall efficiency was at a high level ( X =3.61, S.D = 0.41). When considering on the specifically were found that: the principle of participation has the highest average ( X =3.80, S.D = 0.59), the principle of decentralization has a high average ( X =3.69, S.D = 0.47) and the principle of restoration of educational management for the peoples has the lowest average ( X =3.39, S.D = 0.44). 2) The result of comparison of the efficiency of school based management in secondary schools under the office of secondary educational service area 40, Phetchabun, classified by the size of the schools has the differences significant statistically at .05 level. When considering on the specifically were found that: the principle of participation, the principle of decentralization, and the principle of check and balance weight has the differences statistically significant at .05 level. And the principles of restoration of educational management for the peoples and the principle of self-management have no difference significant statistically at .05 level. As the comparison using And the principles of restoration of educational management for the peoples and the principle of self-management have no difference significant statistically at .05 level. As the comparison using S-Method of Scheffe’ test was found that the principle of decentralization and the principle of check and balance weight between small, middle, large and large special of the schools has the differences significant differences at the level of .05 but the principle of participation between small and middle of the school was no difference
Description: วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556
metadata.dc.description.degree-name: ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: การบริหารการศึกษา
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1678
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:EDU-EA-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
DUANGSAMORN KRAILATBAWON.pdf4.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.