Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1683
Title: การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชั่นเพื่อการเรียนรู้ลักษณะเซลล์ในรายวิชาโลหิตวิทยาและสารน้ำในร่างกาย
Other Titles: Development of mobile learning application for the topic “cell characteristics in hematology and body fluids”
Authors: สุดาภรณ์ เก่งการ
Keywords: สารน้ำในร่างกาย -- การวิเคราะห์;สมาร์ทโฟน -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์;โมบายแอปพลิเคชั่น
Issue Date: 2564
Publisher: สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาโมบายแอพพลิเคชั่นเพื่อการเรียนรู้ลักษณะเซลล์ในรายวิชาโลหิตวิทยาและสารน้าในร่างกาย 2) ประเมินคุณภาพของโมบายแอพพลิเคชั่นที่พัฒนาขึ้น และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการใช้งานโมบายแอพพลิเคชั่นที่พัฒนาขึ้นประเมินคุณภาพของแอพพลิเคชั่นโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 4 ท่าน และศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานโมบายแอพพลิเคชั่นจำนวน 98 คน โดยกลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาโลหิตวิทยา 1 (MTH325) ในภาคการศึกษาที่ 1/2564 ที่มีอุปกรณ์ปฏิบัติการ iOS จำนวน 98 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ โมบายแอพพลิเคชินเพื่อการศึกษาเซลล์ทางโลหิตวิทยาและสารน้าในร่างกาย โดยใช้แบบประเมินคุณภาพของโมบายแอพพลิเคชั่น และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้งานโมบายแอพพลิเคชั่นที่พัฒนาขึ้น สถิติที่ใช้ คือ ค่าเฉลี่ยและ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า การประเมินด้านคุณภาพของโมบายแอพพลิเคชั่นเพื่อการเรียนรู้ลักษณะเซลล์ในรายวิชาโลหิตวิทยาและสารน้ำในร่างกาย โดยผู้เชี่ยวชาญอยู่ในระดับมากที่สุด (𝑥̅= 4.86) และผลประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานต่อการพัฒนาโมบายแอพพลิเคชั่น เพื่อการเรียนรู้ลักษณะเซลล์ในรายวิชาโลหิตวิทยาและสารน้าในร่างกาย อยู่ในระดับมากที่สุด (𝑥̅= 4.77)
metadata.dc.description.other-abstract: The objective of this study includes: 1) Develop mobile application for learning the cell characteristics in the course of hematology and body fluids; 2) Assess the quality of developed mobile application; 3) Study student satisfaction with the use of developed mobile applications. The evaluation of the application was divided into two factors. The first factor was technical quality and application contents evaluated by four experts, and the second factor was satisfaction of 98 application users. The sample group were 98 students of the Faculty of Medical Technology, Rangsit University who enrolled in Hematology 1 (MTH325) in semester 1/2564 with iOS devices. The instruments mobile application, used for the study of hematological cells and body fluids, quality assessment questionnaire and user satisfaction questionnaire. The statistics used in this study were mean and standard deviation. The results of this study indicated that quality assessment of mobile application development for learning body fluids and characteristics in the course of hematology and body fluids by experts were at the highest level (𝑥̅= 4.86). And the evaluation of user’s satisfaction with the mobile application development for learning body fluids and characteristics in the course of hematology and body fluids were also at the highest level (𝑥̅= 4.77).
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1683
metadata.dc.type: Other
Appears in Collections:MeT-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SUDAPORN KENGKARN.pdf116.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.