Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1686
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปรางค์ทิพย์ อุจะรัตน, นวรัตน์ โกมลวิภาต | - |
dc.date.accessioned | 2023-06-08T03:31:40Z | - |
dc.date.available | 2023-06-08T03:31:40Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1686 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและทดสอบประสิทธิผลของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการสวนปัสสาวะชนิดคาสายสวน 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาก่อนและหลังเรียนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ใช้รูปแบบการวิจัยและพัฒนา ดำเนินการวิจัย 2 ระยะ ระยะที่ 1 พัฒนาและทดสอบประสิทธิภาพของหนังสือ ระยะที่ 2 ทดสอบประสิทธิผลของหนังสือต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจของนักศึกษา กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยรังสิตจำนวน 174 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม การวิจัยระยะที่ 1 ใช้กลุ่ม 1(90 คน) และกลุ่ม 2(84 คน) เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการสวนปัสสาวะชนิดคาสายสวนในเพศหญิงและเพศชายตามลำดับ การวิจัยระยะที่ 2 ใช้กลุ่ม 2(84 คน) กลุ่ม 1(90 คน) เพื่อทดสอบประสิทธิผลของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการสวนปัสสาวะชนิดคาสายสวนในเพศหญิงและเพศชายตามลำดับ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย, Wilcoxon Signed Rank test และ One sample t-test ผลการวิจัยพบว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการสวนปัสสาวะชนิดคาสายสวนในเพศหญิงและเพศชายมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ได้ค่า E1/E2 เท่ากับ 80.70/90.60 และ 81.04/86.57 ตามลำดับ ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการสวนปัสสาวะชนิดคาสายสวนในเพศหญิงและเพศชายก่อนเรียนและหลังเรียนพบว่า นักศึกษามีคะแนนสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p<.001) คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของนักศึกษาต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สูงกว่าร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ -- การพัฒนา -- วิจัย | en_US |
dc.subject | กระเพาะปัสสาวะ, การใช้หลอดสวน. | en_US |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | en_US |
dc.subject | นักศึกษาพยาบาล | en_US |
dc.title | การพัฒนาและประสิทธิผลของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง การสวนปัสสาวะชนิดคาสายสวนสำหรับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.title.alternative | The development and effectiveness of an electronic book entitled “indwelling catheterization” for sophomore nursing students at Rangsit University | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | This study aimed to 1) develop and evaluate the effectiveness of a new electronic book entitled “Indwelling catheterization”; 2) compare students’ achievement before and after using the electronic book, and 3) evaluate the students’ satisfaction with the electronic book. The research and development designs were employed in two phases. Phase 1 was developing the new electronic book and assessing its efficiency. Phase 2 was the evaluation of the effects of the electronic book on student achievement and student satisfaction. A sample of 174 sophomore nursing students at Rangsit University was recruited and divided into two groups; Group 1 (n=90) and Group 2(n=84) were assigned to assess the efficiency of the electronic book in phase 1, Group 2 (n=84) and Group1(n=90) were assigned to evaluate the effects of the electronic book, focusing on achievement and satisfaction with the electronic book in phase 2. Instruments used in this research included the electronic book, a test of knowledge related to female and male indwelling catheterization, and a questionnaire of satisfaction. Data were analyzed using descriptive statistics, Wilcoxon Signed Rank tests, and One-sample t-tests. The results showed that the efficiency of the electronic book was found to be higher (80.70/90.60) and (81.04/86.57) than the standard criteria (80/80). The posttest knowledge scores were statistically significantly higher than the pretest scores (p<.05) | en_US |
Appears in Collections: | Nur-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PRANGTIP UCHARATTANA.pdf | 43.87 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.