Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1694
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปวีณา สุจริตธนารักษ์-
dc.date.accessioned2023-06-13T05:17:07Z-
dc.date.available2023-06-13T05:17:07Z-
dc.date.issued2565-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1694-
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ประเมินสถานภาพการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ของ คณาจารย์ มหาวิทยาลัยรังสิต 2.สำรวจรายวิชาที่มีการใช้ iPad ในการจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย รังสิต 3.ศึกษาปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะของการใช้ ipad ในการจัดการเรียนการสอนในมุมมองของ คณาจารย์ มหาวิทยาลัยรังสิต 4.ศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะของการใช้ ipad ในการจัดการเรียน การสอนในมุมมองของนักศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ อาจารย์จาก 33 วิทยาลัย/คณะ/สถาบัน จำนวน 615 คน และ นักศึกษาจาก 29 วิทยาลัย/คณะ จำนวน 1,446 คน ซึ่งกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นที่ระดับ ความเชื่อมั่น 95% ทำการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เครื่องมือที่ใช้ในการสำรวจครั้งนี้คือ แบบสอบถามออนไลน์ ศึกษาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้อุปกรณ์ iPad ในมหาวิทยาลัยรังสิตสำหรับอาจารย์และ นักศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (X) และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1) จากการประเมินสถานภาพการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ของ คณาจารย์ มหาวิทยาลัยรังสิตพบว่าการใช้ iPad ในการจัดการเรียนการสอนนั้นส่วนใหญ่สังกัดคณะ วิทยาศาสตร์ร้อยละ 24.71 และกิจกรรมที่ใช้ iPad ในการจัดการเรียนการสอนที่ได้รับความนิยมมากที่สุด ก็คือการจัดการเรียนการสอนแแบบ ออนไลน์ โดยการสอนสดผ่านระบบ VDO Conference เช่น Zoom, Google Meet หรือ Microsoft Team ร้อยละ 24.31 2) จากการสำรวจ รายวิชาที่มีการใช้ iPad ในการจัด การเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยรังสิตรายวิชาที่อาจารย์ และนักศึกษาใช้ iPad ในการจัดการเรียนการสอน มากที่สุดก็คือรายวิชาที่อยู่ในกลุ่มวิทยาศาสตร์-สุขภาพ ร้อยละ 61.05 3) จากการสำรวจความพึงพอใจ โดยรวมพบว่ามุมมองการใช้ iPad ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ของอาจารย์ มหาวิทยาลัยรังสิตอยู่ใน ระดับมาก โดยเฉพาะการใช้ iPad สำหรับแก้ไขบทเรียนต่างๆ ในรายวิชาและให้การบ้านนักศึกษาได้ ตลอดเวลาในทุกสถานที่ที่มีอินเทอร์เน็ต โดยมีค่าเฉลี่ย 4.39 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.71 อีกทั้งยัง สามารถออกแบบกิจกรรมโดยการจัดสภาพแวดล้อมในชั้นเรียนให้นักศึกษานำ iPad มาจัดการเรียนการสอน ในห้องเรียน ในลักษณะการให้ทำงานเป็นกลุ่ม ให้ได้มีการช่วยกันค้นคว้าข้อมูล และแสดงความคิดเห็นร้อยละ 49.85 4) จากการ สำรวจความพึงพอใจโดยรวมของนักศึกษาส่วนใหญ่ที่ตอบแบบสอบถาม ซึ่งอยู่วิทยาลัย แพทยศาสตร์ร้อยละ 27.20 พบว่ามุมมองการใช้ iPad ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิตอยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะการใช้ iPad เพื่อเข้าเรียนและส่งงานผ่าน Google Classroom หรือ Google Site และใช้ Application ต่างๆ ของ Google ในการทำการบ้านและส่งงาน เช่น Google Meet, Youtube, Google Document, Google Sheet, Google Slide,Google Drive และ Google form ร้อยละ 12.40 สามารถใช้จดงานทดแทนการใช้กระดาษ อีกทั้งยังสามารถค้นหาข้อมูลและเข้าถึงแหล่ง ข้อมูลต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว โดยมีค่าเฉลี่ย 4.54 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.79en_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการสอนด้วยสื่อen_US
dc.subjectเทคโนโลยีทางการศึกษาen_US
dc.subjectไอแพด (แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์)en_US
dc.subjectแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectคอมพิวเตอร์ขนาดฝ่ามือen_US
dc.titleศึกษาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้อุปกรณ์ iPad ในมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.title.alternativeStudy of instruction based on iPad at Rangsit Universityen_US
dc.typeOtheren_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractThe objective of this research is 1. to evaluate the online teaching and learning status of the lecturers in Rangsit University. 2. to explore courses that use iPad to manage teaching and learning at Rangsit University. 3. to study the problems, obstacles and suggestions of using the iPad in teaching and learning from the Rangsit University lecturers' perspective 4. to study the problems, obstacles and suggestions of using the iPad in teaching and learning in the Rangsit University studentsperspective. The sample groups in the research were the 615 teachers from 33 colleges / faculties / institutions, and 1,446 students from 29 colleges faculties, which determined the sample size using a random group method at the 95% confidence interval. The data analysis was analyzed by using the average, and the standard deviation. This survey tool was an online questionnaire to study teaching and learning by using iPad equipment at Rangsit University. The statistics used with the lecturers and students in this research were percentage, average (x) and standard deviations (S.D.) The research shows that 1) The evaluation of the lecturersonline teaching and learning management of Rangsit University found that the use of iPad in teaching and learning was mainly under the Faculty of Science at 24.71 percentages. The most popular activities with iPad use was the online teaching and learning through live Video Conference systems such as Zoom, Google Meet or Microsoft Team 24.31 percentage 2). The most iPad use in courses for teaching management was the courses in Science-Health group at 61.05 percent 3) The overall satisfaction survey found that the perspective of the iPad use in the online teaching and learning of Rangsit University lecturers was at the high level, especially iPad for editing the various lessons in the course and providing students their homework at any time, any places having the internet at the average of 4.39 and the standard deviation of 0.71. The Activities can be designed by organizing the class environment for students to bring their iPad to manage the teaching and learning in the classroom in a form of group work to help each others research and brainstorming at 49.85 percentage 4) The overall satisfaction survey of the majority of students who responded was the College of Medicine which at 27.20 percentage. It was found that the perspective of the iPad in the online teaching and learning of Rangsit University students was a high level, especially the iPad use to study and homework submitting via Google Classroom, Google Site and other Google applications to do and send their homework such as Google Meet, YouTube, Google Document, Google Sheet, Google Slide, Google Drive and Google Form was at 12.40 percentage. It was able to replace the use of paper, able to search for information and access to the various resources rapidly which the average of 4.54 and standard deviation of 0.79.en_US
Appears in Collections:ASC-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PAWEENA SUJARITTHANARAK.pdf42.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.