Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1699
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorน้ำอ้อย ภักดีวงศ์, นวรัตน์ โกมลวิภาต-
dc.date.accessioned2023-06-13T05:58:50Z-
dc.date.available2023-06-13T05:58:50Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1699-
dc.description.abstractการวิจัยเชิงบรรยายแบบหาความสัมพันธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความต้องการ การได้รับ และความพึงพอใจ ความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการ การได้รับ และความพึงพอใจ ตลอดจนปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการจัดการเรียนรู้แบบอีเลิร์นนิง ของนักศึกษำพยาบาล กลุ่มตัวอย่ำงเลือกแบบเฉพาะเจาะจงเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 - 4 มหาวิทยาลัยรังสิตที่ลงทะเบียนเรียนในภาค S/2563 จำนวน 289 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามความต้องการ การได้รับ และความพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้แบบอีเลิร์นนิงตามองค์ประกอบ 6 ด้าน ได้รับการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 4 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ .85 และทดสอบความเชื่อมั่นชนิดความสอดคล้องภายในด้วยสถิติสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบำค (Cronbach’s alpha coefficient) และ KR-20 ผลการตรวจสอบได้ค่ามำกกว่า .70 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย Kolmogorov -Smirnov และ Spearman Rank Correlation ผลการวิจัย พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีค่ำเฉลี่ยคะแนนโดยรวมของความต้องการ การได้รับ และความพึงพอใจในจัดการเรียนรู้แบบอีเลิร์นนิงอยู่ในระดับสูง และปานกลางตามลำดับ ความต้องการกับการได้รับมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับต่ำ (r= .116, p < .05) และมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับความพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้แบบอีเลิร์นนิงอย่ำงมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.570, p < .001) การได้รับมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับต่ำกับความพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้แบบอีเลิร์นนิงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.360, p < .001) ปัญหาและอุปสรรคที่พบทุกชั้นปี ได้แก่ สื่อการสอนขาดรายละเอียดของเนื้อหา การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตไม่เสถียร ผู้สอนตอบกลับช้า บรรยากาศไม่เอื้อต่อการเรียน ผู้เรียนไม่มีวินัยและขาดแรงจูงใจ ข้อเสนอแนะคือควรปรับปรุงสื่อการสอนให้เป็นสื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ที่มีเนื้อหาสาระสำคัญเพียงพอ และกำหนดเวลาของการให้คำปรึกษาที่ชัดเจน ข้อเสนอแนะนำข้อมูลที่ได้เป็นแนวทางในกำรพัฒนา และปรับปรุงการจัดกกรเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงของนักศึกษาพยาบาลต่อไปen_US
dc.description.sponsorshipศูนย์เรียนรู้ มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherศูนย์เรียนรู้ มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการเรียนรู้ -- การจัดการen_US
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บ -- วิจัยen_US
dc.subjectการเรียนรู้ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.subjectนักศึกษาพยาบาล -- การเรียนการสอนen_US
dc.titleความต้องการ การได้รับ และความพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้แบบอิเลิร์นนิงของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.title.alternativeNursing students’ needs, acquisition, and satisfaction towards E-learning management, Rangsit Universityen_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractThis descriptive correlational study aimed to investigate needs, acquisition, and satisfaction, the relationship among needs, acquisition, and satisfaction, problems, and barriers and provide suggestions for e-learning management. The samples were 289 nursing students divided into three categories: 2nd, 3rd, and 4th year, enrolling in semester S/2020 at Rangsit University. The number of the samples was obtained through purposive sampling. The instrument was a questionnaire through which data in six domains of need, acquisition, and satisfaction towards e-learning management were collected. A content validity index of .85 was approved by four experts. Cronbach’s alpha coefficient and KR-20 were higher than .70. Descriptive statistics, Kolmogorov –Smirnov, and Spearman Rank Correlation were used to analyze the data. The findings revealed that the students’ needs, acquisition, and satisfaction ranged from moderate to high. ‘Needs’ was positively related to ‘Acquisition’ at a low level (r= .116, p < .05) but was positively related to ‘Satisfaction’ at a moderate level (r=.570, p < .001). ‘Acquisition’ was positively related to ‘Satisfaction’ at a low level(r=.360, p < .001).Problems and barriers found in all three groups of students included incomplete lessons in learning materials, unstable internet connection, delayed feedback from instructors, poor learning environment, students’ lack of self-regulation and self-motivation. The research recommended an improvement of the sufficiency of content and lessons in interactive multimedia and a clear determination of consulting time and hours. These results could be used as guidelines for the improvement e-learning management for nursing studentsen_US
Appears in Collections:Nur-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NAM-OY PAKDEVONG.pdf1.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.