Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1718
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อำภาพร นามวงศ์พรหม, น้ำอ้อย ภักดีวงศ์ | - |
dc.contributor.author | พจนา สายัณห์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-06-16T06:28:55Z | - |
dc.date.available | 2023-06-16T06:28:55Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1718 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้ เป็นวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาการรับรู้ กลวิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการปวดและหายใจลำบาก ในพระภิกษุอาพาธด้วยโรคมะเร็งระยะสุดท้ายโดยใช้แนวคิดการจัดการอาการ (Symptom management) ของ Dodd เป็นกรอบแนวคิดในการวิจัยกลุ่มตัวอย่างเป็นพระภิกษุอาพาธด้วยโรคมะเร็งระยะสุดท้าย ที่ผ่านการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 12 ราย ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วย และได้รับการจัดการอาการตามแนวปฏิบัติมาตรฐาน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลแบบประเมินการรับรู้อาการ และแบบประเมินการจัดการอาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย แผนภูมิ และสถิติ Wilcoxon-Signed Rank test ผลการศึกษาพบว่า พระภิกษุอาพาธด้วยโรคมะเร็งระยะสุดท้าย มีการรับรู้อาการปวด และหายใจลำบาก โดยส่วนใหญ่มีการรับรู้อาการปวดด้านความถี่บ่อยครั้ง ความรุนแรงปานกลาง ความรู้สึกทุกข์ทรมานพอควรถึงค่อนข้างมาก มีการรับรู้อาการหายใจลาบากด้านความถี่บ่อยครั้ง ความรุนแรงและความรู้สึกทุกข์ทรมานมาก กลวิธีการจัดการอาการที่พระภิกษุอาพาธด้วยโรคมะเร็งระยะสุดท้ายได้รับ ประกอบด้วย กลวิธีการจัดการอาการโดยการใช้ยา และไม่ใช้ยา โดยยาหลักที่ได้รับในการจัดการอาการปวด คือ ยาในกลุ่ม Opioids ร่วมกับยาเสริมในกลุ่ม Non-opioids และยาที่ได้รับในการจัดการอาการหายใจลาบาก ประกอบด้วย ยาในกลุ่ม Bronchodilators มากที่สุด รองลงมา คือ Corticosteroids และ Diuretics โดยได้รับอย่างสม่าเสมอ กลวิธีการจัดการอาการปวดและหายใจลาบากโดยการไม่ใช้ยา ประกอบด้วย การพูดคุยให้กาลังใจมากที่สุด รองลงมา คือ การทำสมาธิ และการออกกำลังกายตามความเหมาะสม ผลลัพธ์ของการจัดการอาการปวดและหายใจลำบากอยู่ในระดับดี โดยค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้อาการปวดหลังรับไว้ในความดูแลต่ากว่าก่อน รับไว้ในความดูแลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=.002) ในขณะที่ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้อาการหายใจลำบากมีแนวโน้มลดลงแต่ไม่แตกต่างกัน ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การจัดการอาการปวดและหายใจลำบาก ในผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะสุดท้ายจะเกิดผลลัพธ์ที่ดีนั้น ผู้ป่วยต้องได้รับกลวิธีการจัดการอาการโดยการใช้ยาอย่างเหมาะสมและสม่ำเสมอ ร่วมกับกลวิธีการจัดการอาการโดยการไม่ใช้ยา | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | สงฆ์ -- สุขภาพและอนามัย -- วิจัย | en_US |
dc.subject | มะเร็ง -- ผู้ป่วย -- การดูแล -- วิจัย | en_US |
dc.subject | การพยาบาล -- วิจัย | en_US |
dc.title | การจัดการอาการและผลลัพธ์ของการจัดการอาการปวดและหายใจลำบากในพระภิกษุอาพาธด้วยโรคมะเร็งระยะสุดท้าย | en_US |
dc.title.alternative | Symptom management and outcomes of pain and dydpnea management in Buddhist monks with terminal cnacer | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This descriptive study aimed to investigate perception of s ymptom s , s ymptom management strategies, and outcome s of pain and dyspnea management in pat ients with terminal cancer. Dodd' s symptom management model was used as a conceptual framework. A purposive sample of 12 Buddhist monks with terminal cancer was recruited for this study. Instruments use d to collect data included Patient information sheet Memorial Symptom Assessment Scale s ( THAI), and Palliative Care Assessment For m (THAI). Data were analyzed by using descriptive statistics , chart, and Wilcoxon Si g n ed Rank test. The findings showed that Buddhist monks with terminal cancer perceived pain f requently, moderate intensity and moderate to rather high level s of suffering. Perception of dyspnea was frequent, high ly seve re and at a high level of suffering. Symptom management strategies the Buddhist monks received were both pharmacological and non p harmacological . For pain, O pioids in combination with adjuvant were consecutively used. For dyspnea bronchodilators corticosteroids and diuretics were consistently used respectively . N on pharmacological methods used included mental support, meditati on and exercise respectively. On a whole, the outcomes of symptom management were at a good level The averaged mean scores of pain were significantly lower than those of th e first day of admission (p=.002), and averaged mean scores of dyspnea we r e lower than those of before. The findings of this study suggest that pain and dyspnea management in patients with terminal cancer required both pharmacological and non pharmacologica l. | en_US |
dc.description.degree-name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การพยาบาลผู้ใหญ่ | en_US |
Appears in Collections: | Nur-Adult-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
POTJANA SAYAN.pdf | 2.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.