Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1730
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วศิณ ชูประยูร | - |
dc.contributor.author | นฤมิตร ใจมั่น | - |
dc.date.accessioned | 2023-06-23T03:31:42Z | - |
dc.date.available | 2023-06-23T03:31:42Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1730 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกาหนดกรอบแนวทางในการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กรที่เหมาะสมสาหรับ หน่วยงานภาครัฐวิสาหกิจ วิธีดำเนินการวิจัยใช้แบบสัมภาษณ์ในการเก็บข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญด้านสถาปัตยกรรมองค์กรเพื่อสร้างตัวแบบในการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กร และวิเคราะห์ตัวแบบในการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กรโดยจัดการประชุมกลุ่มย่อยเพื่อรับฟังข้อคิดเห็นข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญด้านสถาปัตยกรรมองค์กร นักวิชาการ ผู้ปฏิบัติงานด้านสถาปัตยกรรมองค์กร และผู้บริหารด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของหน่วยงานภาครัฐวิสาหกิจ ผลการประชุมกลุ่มกลุ่มย่อยสรุปว่า ตัวแบบในการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กรสามารถอธิบายถึงภาพรวมของการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กร มีความถูกต้องเหมาะสมตามหลักการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กร มีความสอดคล้องกับองค์ประกอบของการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กร ด้านสถาปัตยกรรมธุรกิจ สถาปัตยกรรมข้อมูลสารสนเทศ สถาปัตยกรรมโปรแกรมประยุกต์ สถาปัตยกรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถนำมาเป็นต้นแบบในการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กรของหน่วยงานภาครัฐวิสหกิจ และตัวแบบในการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กรมีความยืดหยุ่นสามารถนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมตามการดำเนินธุรกิจของหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | สถาปัตยกรรม -- ไทย -- วิจัย | en_US |
dc.title | แนวทางการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กรที่เหมาะสมสำหรับหน่วยงานภาครัฐวิสาหกิจ | en_US |
dc.title.alternative | A Development of appropiate enterprise architecture for state enterprise | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This study aims to determine a framework for developing appropriate enterprise architecture (EA) for Thai State Enterprises. Interviewing method was used for gathering data from EA experts. Data from the experts lead to develop the EA model. The model was proved by EA experts from academic sector, private sector, and government sector via focus group method. The focus group resulted that the EA model derived from valid process of developing enterprise architecture. The model is proper and consistent to the component of enterprise architecture, business architecture, data architecture, application architecture and technology architecture. It would be a model for developing EA for Thai State Enterprises. | en_US |
dc.description.degree-name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ | en_US |
Appears in Collections: | ICT-ITM-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
NARUEMIT CHAIMAN.pdf | 7.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.