Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1733
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเด่น อยู่ประเสริฐ-
dc.contributor.authorธีรัช เลาห์วีระพานิช-
dc.date.accessioned2023-06-23T05:45:01Z-
dc.date.available2023-06-23T05:45:01Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1733-
dc.descriptionทยานิพนธ์ (ศล.ม. (ดนตรี)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนีเ้พื่อวิเคราะห์วิธีการอิมโพรไวส์ โดยใช้วิธีการพัฒนาแนวทำนองหลักของ ลี โคนิทซ์ ในบทเพลงสเตลาบายสตาร์ไลท์ โดยมีขอบเขตของการวิเคราะห์ในประเด็นการ เปรียบเทียบระหว่างแนวทำนองหลักจากบทเพลงต้นฉบับ กับแนวทำนองอิมโพรไวส์ของลี โคนิทซ์ เพื่อแสดงให้เห็นถึงวิธีการพัฒนาแนวทำนองหลักของเขาได้ชัดเจน นอกจากนัน้ ผู้วิจัยได้พิจารณา ประเด็นวิเคราะห์อื่นที่อาจเกี่ยวข้อง ได้แก่ ทำนองอิมโพรไวส์ บันไดเสียง และเสียงประสาน จากผลการวิจัย พบว่าการอิมโพรไวส์ของลี โคนิทซ์ มีความยาวทั้ง หมด 3 คอรัส ประโยค การอิมโพรไวส์ถูกแบ่งออกจากกันโดยช่วงพักหายใจของโคนิทซ์ แนวทำนองอิมโพรไวส์ของโคนิทซ์ มีทัง้ หมด 22 ประโยค โดยเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการพัฒนาจากแนวทำนองหลัก 10 ขั้น ตอน และ วิธีการจัดช่วงลำดับสำหรับการอิมโพรไวส์ของลี โคนิทซ์ ทั้ง 4 ช่วง แสดงให้เห็นว่าเขาอิมโพรไวส์ โดยการใช้การตีความ 1 ครั้ง การประดับตกแต่ง 6 ครั้ง การพัฒนา 9 ครั้ง และการอิมโพรไวส์ 6 ครั้ง สำหรับประเด็นการสร้างแนวทำนองอิมโพรไวส์ โคนิทซ์ใช้บันไดเสียงต่างๆ โดยส่วนใหญ่เพื่อ มุ่งเข้าสู่โน้ตเป้าหมาย ซึ่งเป็นโน้ตที่มาจากแนวทำนองต้นฉบับ หรือโน้ตในคอร์ด รวมถึงพบการใช้ โน้ตโครมาติกร่วมอยู่ในบันไดเสียงด้วย จึงทำให้แนวทำนองบางประโยคมีสำเนียงแบบบีบอป ส่วน ประเด็นเสียงประสาน โคนิทซ์สร้างแนวทำนองที่สามารถแสดงถึงเสียงประสานของบทเพลงได้ อย่างชัดเจน เขานิยมอิมโพรไวส์ด้วยวิธีการบรรเลงคอร์ดแยก พร้อมทั้ง ซ่อนโน้ตจากแนวทำนอง หลักไว้ในการบรรเลงคอร์ดแยกเหล่านั้น อีกทั้ง มีการเปลี่ยนแปลงเสียงประสานโดยการใช้คอร์ด แทนต่างๆ บ้างในบางประโยคen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectโคนิทซ์, ลี -- ผลงานen_US
dc.subjectนักดนตรี -- วิจัยen_US
dc.subjectการอิมโพรไวส์ -- วิจัยen_US
dc.titleการอิมโพรไวส์ด้วยวิธีการพัฒนาจากแนวทำนองหลักของลี โคนิทซ์ ในบทเพลงสเตลาบายสตาร์ไลท์en_US
dc.title.alternativeLee Konitz and thematic improvisation on stella by starlighten_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe research presented herein is Lee Konitz and Thematic Improvisation on Stella by Starlight, concentrating on areas of comparative analysis between original theme and Lee Konitz's thematic improvisation. Furthermore, an analysis of the research involves with improvisation, scales and harmony. The research shows that, Lee Konitz's improvisation consists of three choruses in total which has twenty-two phrases. Phrasing of improvisation is divided by Konitz's breath. There are four stages of Konitz's improvisation-one time of interpretation, six times of embellishments, nine times of variations, and six times of improvisations. Moreover, his thematic improvisation bases on scales that usually lead to target notes, original melody and chord tone, including chromatic notes. That's why the musical sound of some phrases are similar to Bebop. Furthermore, his improvisation represents harmonic progressions by using arpeggios and implying original melody in them. Some his harmonic progressions, however, also use of substitute chords.en_US
dc.description.degree-nameศิลปมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineดนตรีen_US
Appears in Collections:Ms-Music-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TEERUS LAOHVERAPANICH.pdf7.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.