Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1734
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เด่น อยู่ประเสริฐ, วิบูลย์ ตระกูลฮุ้น | - |
dc.contributor.author | ภาสกร ภู่ประภ | - |
dc.date.accessioned | 2023-06-23T05:57:05Z | - |
dc.date.available | 2023-06-23T05:57:05Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1734 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (ดนตรี)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบการอิมโพรไวส์ของจิม ฮอลล์ บิลล์ ฟริเซลล์ และปีเตอร์ เบิร์นสตีน ในบทเพลง เบมชาสวิง โดยมีขอบเขตของการวิเคราะห์ในประเด็นต่างๆ ได้แก่ ด้านการพัฒนาโมทีฟ แนวทำนอง บันไดเสียง และอื่นๆ ที่สำคัญ จากการวิจัยด้านการพัฒนาโมทีฟพบว่า จิม ฮอลล์ และปีเตอร์ เบิร์นสตีน ใช้วิธีการ พัฒนาโมทีฟที่หลากหลาย และคล้ายคลึงกัน แตกต่างจากบิลล์ ฟริเซลล์ ที่พัฒนาโมทีฟให้เห็นเป็น ส่วนน้อย ด้านแนวทำนองพบว่า นักกีตาร์ทั้ง 3 คน ใช้วิธีการ และวัตถุดิบที่เหมือนกัน ได้แก่ คู่ 4 เพอร์เฟค โน้ตในคอร์ด โน้ตส่วนขยายของคอร์ด โน้ตโครมาติก และการนำทำนองหลักของบทเพลง มาใช้ในการอิมโพรไวส์ นอกเหนือจากนี้ บิลล์ ฟริเซลล์ ยังใช้วิธีการฮาร์โมนิกเจเนอเรไลเซชั่น ซึ่ง แตกต่างจากจิม ฮอลล์ และปีเตอร์ เบิร์นสตีน ที่ไม่ได้ใช้วิธีการดังกล่าว สำหรับประเด็นด้านบันได- เสียงพบว่า นักกีตาร์ทั้ง 3 คน ใช้บันไดเสียงที่เหมือนกัน คือ บันไดเสียงเมเจอร์ อย่างไรก็ตาม บิลล์ ฟริเซลล์ ยังใช้บันไดเสียงอื่นๆ ที่แตกต่างออกไป ได้แก่ บันไดเสียงบลูส์ เมเจอร์และไมเนอร์เพนตา- โทนิก รวมถึงปีเตอร์ เบิร์นสตีน ที่ใช้บันไดเสียงบลูส์ด้วยเช่นกัน ส่วนประเด็นด้านอื่นๆ พบว่า จิม ฮอลล์ และบิลล์ ฟริเซลล์ใช้บลูโน้ต และเอ็นโคลเชอร์เหมือนกัน | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การอิมโพรไวส์ | en_US |
dc.subject | ดนตรีแจ๊ซซ์ | en_US |
dc.subject | ฮอลล์, จิม, | en_US |
dc.title | วิเคราะห์เปรียบเทียบการอิมโพรไวส์ของจิม ฮอลล์ บิลล์ ฟริเซลล์ และปีเตอร์ เบิร์นสตีน ในบทเพลง เบมชาสวิง | en_US |
dc.title.alternative | A Comparative analysis of Jim Hall's, Bill Frisell's, and Peter Bernstein's improvisations on Bemsha Swing | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The research presented herein is a comparative analysis of Jim Hall’s, Bill Frisell’s, and Peter Bernstein’s improvisations on the tune “Bemsha Swing” concentrating on the areas of motivic development, melodic patterns, usage of scales and other important musical elements. In motivic development research found that both Jim Hall and Peter Bernstein used various motivic development yet similar, differ from Bill Frisell whom uses in a more minimalistic approach. In melodic patterns, all the above guitarists used the same approach, for example, they used perfect fourth, chord tones, extensions, and chromatic notes, and they also used the main theme to develop their improvisation. The difference is that Jim Hall and Peter Bernstein doesn’t use the harmonic generalization like Bill Frisell. However, for scales, the research found that all of them use major. For Bill Frisell, he would use it in more various ways, by using blues, major and minor pentatonic, Peter Bernstein also uses blues scale for improvisation. In other cases, research found that Jim Hall and Bill Frisell uses blue notes and enclosures in their improvisation | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | ดนตรี | en_US |
Appears in Collections: | Ms-Music-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PASSAKORN PHUPRAPA.pdf | 2.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.