Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1761
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมณีเพ็ญ อภิบาลศรี, วนิดา พลอยสังวาลย์-
dc.contributor.authorลักษมี จำพานิชย์-
dc.date.accessioned2023-06-29T08:22:47Z-
dc.date.available2023-06-29T08:22:47Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1761-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม (การศึกษาระบบสองภาษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการใช้เทคนิคการเดา ความหมายคำศัพท์ภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาความสามารถในการเข้าใจความหมายคำศัพท์ ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี จังหวัดปราจีนบุรี กลุ่มตัวอย่างใช้ในการทดลองคือนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 100 คน คัดเลือกโดยการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมจำนวนกลุ่มละ 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบทดสอบการเดา ความหมายคำศัพท์ก่อนและหลังการทดลอง และแผนการสอน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตมาตรฐาน ( x̅ ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) และสถิติค่าทีแบบ 2 กลุ่มอิสระ ต่อกัน( t-test independent) ผลการวิจัยสรุปได้ว่านักเรียนกลุ่มทดลองหลังการทดลอง มีผลสัมฤทธิ์สูงกว่ากลุ่ม ควบคุมที่ไม่ได้ฝึกการเดาความหมายคำศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริบทอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectโรงเรียนวัดใหม่กรงทอง -- นักเรียน -- วิจัย;en_US
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- วิจัยen_US
dc.titleการใช้เทคนิคการเดาความหมายคำศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริบทเพื่อพัฒนาความเข้าใจความหมายคำศัพท์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทอง จังหวัดปราจีนบุรีen_US
dc.title.alternativeThe Application of guessing techniques from contextual analysis to enhance the understading of word meaning among grade 12 students Mathayomwatmaikrongtong school Prachinburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purpose of this study was to examine the effectiveness of application of guessing techniques by using the contextual analysis to enhance the understanding of word meaning among Grade 12 students at Mathayomwatmaikrongtong Under the Royal Patronage of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhon school in Prachinburi Province. The study samples were 100 grade 12 students, selected by a purposive sampling method. They were divided into an experimental group and a control group with 50 students in each group. The research instruments used in the study were pre and post test and lesson plan. The data was analyzed by mean, standard deviation and t-test independent. The finding revealed that the score of the post-test in the experimental group was significantly higher than that of the control group at the level of .05en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการศึกษาระบบสองภาษาen_US
Appears in Collections:EDU-Bil-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
LAKSAMEE JAMPANICH.pdf3.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.