Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1768
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุบล สรรพัชญพงษ์-
dc.contributor.authorสัญชัย พูลสุข-
dc.date.accessioned2023-06-30T03:47:16Z-
dc.date.available2023-06-30T03:47:16Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1768-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด. (การศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดeเนินการนิเทศภายในในปัจจุบัน ความเหมือนและความแตกต่างของการดาเนินการนิเทศภายในของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) สูงและโรงเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) ต่ำ ประเภทละ 8 โรง การนิเทศภายในของโรงเรียนมี 5 ขั้นตอน คือ 1) การสารวจปัญหาและความต้องการในการจัดการเรียนการสอน 2) การวางแผนการนิเทศภายใน 3) การเตรียมสื่อ เครื่องมือการนิเทศภายใน 4) การปฏิบัติการนิเทศภายในและ 5) การประเมินผลและรายงานผล ประชากรในการวิจัยมี ผู้อำนวยการโรงเรียนและหัวหน้างานวิชาการ เครื่องมือในการวิจัย คือ การสัมภาษณ์ สังเกต เอกสารและการจัดสนทนากลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า การดำเนินการนิเทศภายในโรงเรียนมีผลต่อผลการเรียนของนักเรียน กล่าวคือ โรงเรียนประถมศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) สูงและมีการนิเทศภายในครบทุกขั้นตอนมีการปฏิบัติการนิเทศภายในปัจจุบันอย่างเป็นระบบ ชัดเจน มีความต่อเนื่องและแสดงออกถึงความใส่ใจของผู้นิเทศ ครูได้รับการพัฒนา นักเรียนในโรงเรียนประเภทนี้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าโรงเรียนอื่นๆในเขตพื้นที่การศึกษาเดียวกัน ส่วนโรงเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) ต่ำ แม้จะมีการดำเนินการนิเทศภายใน ครบ 5 ขั้นตอน แต่ไม่เป็นระบบ ไม่ต่อเนื่องและไม่จริงจัง จากการวิเคราะห์ข้อมูลของโรงเรียนในกลุ่มหลังพบว่าปัจจัยที่ทำให้การนิเทศภายในไม่ได้ผลคือ 1) โรงเรียนขาดข้อมูลในการสารวจปัญหาและความต้องการในการจัดการเรียนการสอนของครู 2) การวางแผนโรงเรียนกำหนดกิจกรรมการนิเทศไม่หลากหลายไม่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของครู 3) สื่อและเครื่องมือในการนิเทศภายในมีน้อยและไม่สอดคล้องกับกิจกรรมการนิเทศ 4) การปฏิบัติการนิเทศภายในไม่เป็นไปตามตารางและปฏิทินที่กำหนดไว้ 5) ครูไม่ศรัทธาผู้นิเทศและไม่เห็นความสำคัญของการนิเทศ การวิจัยครั้งนี้ยืนยันว่าการดำเนินการนิเทศภายในโรงเรียนมีผลต่อความสาเร็จในการเรียนของนักเรียน ต่อการพัฒนาตนเองของครูและต่อความเจริญของสถาบันen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช -- วิจัยen_US
dc.subjectการนิเทศการศึกษา -- วิจัยen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- วิจัยen_US
dc.titleการดำเนินการนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดนครศรีธรรมราชen_US
dc.title.alternativeArea office school supervision methods of high and low achievement schools in Nakhon Si Thammarat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis dissertation is the researcher’s qualitative study for his Doctoral Program of Education at the Faculty of Education, Rangsit University. It aims to find connection between school supervision and primary school students’ learning achievement (O-NET) of Nakhon Si Thammarat Education Offices. The school supervision consists of 5 steps: 1) school present environment, problems, and needs, 2) school plans and directions, 3) teaching media, tools, and development of school supervision, 4) supervision methods, and 5) evaluation and reports. This project included 2 types of schools: schools with students’ maximum achievement based on the O-NET (2011) and those with students’ minimum achievement based on the same national test. Participants were the school director, an assigned teacher, and 2 observers from each school. Research instruments contained interviews, observations, school documents and group discussions. Based on data analysis, school supervision and primary school students’ learning achievement related. Type 1 schools had carried out their supervision systematically. Thus, they were successful in teaching, the result of which showed students obtained high marks in their O-NET (2011). On the contrary, type 2 schools varied their supervision. Most did not organized it well, for instance, some schools did not do the supervision consistently while others did not focus much attention on the supervision processes. Some teachers did not trust supervisors nor did they acknowledge these personnel. These incidents affected teaching and learning at the school. Also, they resulted in the students’ lowest learning achievement in the area. In other words, the study significantly exhibited the school supervision in relation to the students’ achievement. In addition, steady and well-organized supervision resulted not only in the students’ learning achievement but also the teachers’ collaboration and responsibility toward their work and the institute they worked for.en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineการศึกษาen_US
Appears in Collections:EDU-ES-D-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SUNCHAI POONSUK.pdf7.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.