Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1771
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุบล สรรพัชญพงษ์-
dc.contributor.authorปฏิวัติ พุทธะศักดิ์เมธี-
dc.date.accessioned2023-06-30T05:49:51Z-
dc.date.available2023-06-30T05:49:51Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1771-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.( การศึกษา)) มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556en_US
dc.description.abstractดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุกที่ผู้เรียนสร้าง ความรู้ด้วยตนเองเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 2) ศึกษาทดลองการเรียนรู้เชิงรุกที่ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วย ตนเองเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ 3) ประเมินประสิทธิผลการเรียนรู้เชิงรุกที่ผู้เรียนสร้าง ความรู้ด้วยตนเองเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ กลุ่มตัวอย่างศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก คือ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน จำนวน 201 คน ประชากรที่ใช้ศึกษาทดลองและประเมิน ประสิทธิผลการเรียนรู้ คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านวังท่าดี จำนวน 42 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามสภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุกที่ผู้เรียนสร้าง ความรู้ด้วยตนเองเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) แผนการเรียนรู้ เชิงรุก 3) แบบทดสอบความรู้ก่อนเรียนหลังเรียน 4) แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ 5) แบบ ประเมินทักษะการคิดวิเคราะห์ 6) แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ ผลการวิจัยที่ พบว่า 1) สภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุกที่ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองเพื่อ พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์ เขต 3 ภาพรวมอยู่ในระดับน้อย ( x̅ =2.40, SD = 0.33) 2) การเรียนรู้เชิงรุกที่ผู้เรียนสร้าง ความรู้ด้วยตนเอง ที่สามารถพัฒนาทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ให้กับผู้เรียน มี 3 ขั้นคือ 2.1) ขั้นนำ 2.2) ขั้นสร้างความรู้ และ 2.3) ขั้นสรุป 3) คะแนนเฉลี่ยด้านความรู้ของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียน 4) ผลสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนอยู่ในระดับมาก (μ = 3.21, σ = 0.15) 5) ผล ประเมินทักษะการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนอยู่ในระดับมาก (μ 3.26, σ = 0.30) และ 6) คะแนนเฉลี่ย ความพึงพอใจของนักเรียน อยู่ในระดับมากที่สุด (μ = 4.61 σ = 0.32)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectโรงเรียนบ้านวังท่าดี -- วิจัยen_US
dc.subjectสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 -- วิจัยen_US
dc.subjectการเรียนรู้ด้วยตนเอง -- วิจัยen_US
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเสริมสร้างวินัยในตนเองด้านความรับผิดชอบของนักเรียนระดับประถมศึกษา โดยใช้วิธีสะท้อนความคิดแบบผสมผสานen_US
dc.title.alternativeActivities development for the enhancement of primary school students' self-discipline in responsibilities by using integrated reflective methodsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this doctoral dissertation were 1) to investigate the extent to which active learning through constructivism was currently conducted in basic education institutions under Petchabun Primary Education Office Area 3 2) to develop active learning through constructivism by students to develop their analytical thinking skills and 3) evaluate the effectiveness of the active learning approach. For Objective 1, the population was 201, For Objectives 2 and 3 the population was 42 students in the 6thgrade of Banwangtadee School. The research instruments consisted of 1) a questionnaire concerning the current state of active learning through constructivism conducted in the basic education institutions 2) lesson plans of Strand 1: Buddhism 3) pre and post knowledge tests of Strand 1: Buddhism 4) an observation form for assessing active learning behaviors 5) a rubric assessment for analytical thinking skills and 6) a questionnaire regarding student satisfaction toward the experimental active learning approach. Means, standard deviations, and Percentage were used for data analysis. The main findings were as follows: 1) Active learning through constructivism was currently conducted in the basic education institutions under Petchabun Primary Education Office Area 3 at a low level. ( x̅ = 2.40, SD = 0.33) 2) Active learning through constructivism by students to develop analytical thinking skills consisted of three steps as follows: 1.1) Introduction, 1.2) Knowledge Construction and 1.3) Conclusion. 3) The average score students gained from their knowledge test after learning was significantly higher. 4) The scores gained from assessing students’ behaviors were at the highest level. (μ = 16.6, σ = 1.22) 5) the scores gained from assessing students’ analytical thinking skills development were at the highest level. (μ = 16.92, σ = 1.34) and 6) the average score of student satisfaction toward the active learning through constructivism to develop their analytical thinking skills was at the highest level. (μ = 4.31, σ = 0.32)en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineการศึกษาen_US
Appears in Collections:EDU-ES-D-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PATIWAT BUDDHASAKMAETEE.pdf7.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.