Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1774
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิรภา จำปาทอง | - |
dc.contributor.author | ทักษพร คุณวงศ์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-07-05T06:58:56Z | - |
dc.date.available | 2023-07-05T06:58:56Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1774 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (นิติศาสตรมหาบัณฑิต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556 | en_US |
dc.description.abstract | กฎหมายประกันสังคมเป็นกฎหมายที่มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือ โดยกําหนดให้มีกองทุนประกันสังคมขึ้น เพื่อให้ประโยชน์ทดแทนในกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเป็นส่วนที่มีความสําคัญในการช่วยเหลือผู้ประกันตนมากที่สุด เพราะทําให้ลูกจ้างได้เข้าถึงบริการทางการแพทย์ เพื่อรักษาอาการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นอย่างไรก็ตามระบบประกันสังคมในส่วนประโยชน์ทดแทนอันตรายหรือเจ็บป่วยของประเทศไทยนั้นประสบปัญหาหลายประการ เนื่องจากประเทศไทยได้กําหนดให้ ผู้ประกันตนต้องเลือกสถานพยาบาลที่ตนจะใช้สิทธิ นอกเหนือจากสถานพยาบาลที่ผู้ประกันตนจะต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยในกรณีฉุกเฉินตามกฎหมายประกันสังคม ของประเทศไทยมีปัญหาหลายประการ คือ ปัญหาการตีความกรณีฉุกเฉินซึ่งผู้ประกันตน ต้องเข้ารับ บริการทางการแพทย์ในโรงพยาบาลตามบัตรรับรองสิทธิในการรักษาพยาบาลเท่านั้น และปัญหา จํานวนเงินทดแทนค่าบริการทางการแพทย์กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินที่ไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง จากปัญหาข้างต้นผู้วิจัยจึงทําการวิจัยเอกสารโดยเปรียบเทียบกฎหมายไทยกับกฎหมายต่างประเทศและมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ซึ่งผลจากการเปรียบเทียบพบว่า การประโยชน์ ทดแทนกรณีเจ็บป่วยนั้น กฎหมายต้องให้การคุ้มครองโดยไม่มีข้อจํากัด ซึ่งจะทําให้แก้ไขข้อจํากัด เรื่องสิทธิในการเลือกโรงพยาบาลได้ และควรคุ้มครองครอบคลุมคนใกล้ชิดของผู้ประกันตนด้วย เช่นเดียวกับกฎหมายของประเทศสวีเดน ซึ่งเป็นแนวทางที่เหมาะสมกับการพัฒนาระบบประกันสังคมในประเทศไทย | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | คดีอาญา, การฟ้อง -- วิจัย | en_US |
dc.subject | การฟ้องคดีอาญา -- ไทย -- วิจัย | en_US |
dc.title | มาตรการเกี่ยวกับประโยชน์ทดแทนในกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน | en_US |
dc.title.alternative | Measures relating to compensation in case of accident or emergency sickness | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The main purpose of the Social Security Fund("Fund") is to secure the compensational rights of the employees who got sick or injured due to other causes. This Fund allows them to receive medical treatments and compensations. However, under the Thai Social Security Act, there's a problem with the interpretation of law which potentially hinders the compensational rights of the insured person. For example, the Act has a very stringent rule in discerning emergency cases, and imposes varieties of conditions on the insured person in terms of the type of hospital they should register. The researcher is aware of the above-mentioned issue and after comparing the laws and international labor standard, the researcher deems it necessary that the injured person should receive unlimited protection through compensation and such protection should extend to rest of the family members too. The insured person should also have more alternatives in choosing the suitable hospital. By doing so, it will make the Thai social security system more complete | en_US |
dc.description.degree-name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | นิติศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | Law-Law-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
THUKSAPON KHUNNAWONG.pdf | 3.93 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.