Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1838
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญเลิศ ส่องสว่าง-
dc.contributor.authorวริษฐา ทรงศักดิ์สุจริต-
dc.date.accessioned2023-08-03T06:17:07Z-
dc.date.available2023-08-03T06:17:07Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1838-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการบริหารความขัดแย้งของผู้ทำหน้าที่บริหารในโรงเรียนตามโครงการโรงเรียนดีศรีตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 (2) ศึกษาวิธีการบริหารความขัดแย้งของผู้ทำหน้าที่บริหารในโรงเรียนตามโครงการโรงเรียนดีศรีตำบล ที่มีเพศและตำแหน่งแตกต่างกัน (3) ศึกษาข้อเสนอแนะในการบริหารความขัดแย้งของผู้ทำหน้าที่บริหารในโรงเรียนตามโครงการโรงเรียนดีศรีตำบล ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหารโรงเรียนตามโครงการโรงเรียนดีศรีตำบลและหัวหน้ากลุ่มงานทั้ง 4 ฝ่าย จำนวน 19 โรง 95 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณ (Rating Scale) 5 ระดับ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (μ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (б) ผลการวิจัยปรากฏผล ดังนี้ (1) ผู้ทำหน้าที่บริหารในโรงเรียนตามโครงการโรงเรียนดีศรีตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 นิยมใช้วิธีการบริหารความขัดแย้งแบบประนีประนอมมากที่สุดและเลือกใช้วิธีการบริหารความขัดแย้งแบบหลีกเลี่ยงน้อยที่สุด (2) ผู้ทำหน้าที่บริหารในโรงเรียนตามโครงการโรงเรียนดีศรีตำบล ที่มีตำแหน่งและเพศแตกต่างกัน ใช้การบริหารความขัดแย้งที่แตกต่างกัน (3) ข้อเสนอแนะของผู้ทำหน้าที่บริหารในโรงเรียนตามโครงการโรงเรียนดีศรีตำบล ควรใช้การบริหารโรงเรียนดีศรีตำบล โดยวิธีประนีประนอมและวิธีการร่วมมือ แต่ควรหลีกเลี่ยงวิธีการเอาชนะหรือวิธีการเผชิญหน้าen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectโรงเรียน -- การบริหารความขัดแัย้ง -- วิจัยen_US
dc.subjectการบริหารความขัดแย้ง -- วิจัยen_US
dc.titleการบริหารความขัดแย้งในโรงเรียนตามโครงการโรงเรียนดีศรีตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1en_US
dc.title.alternativeConflict management on the performance of the Sri Tambon's virtue school under the office of Ayutthaya primary educational area service 1en_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purposes of this study were to (1) study the conflict management of administration committee on the performance of the Sri Tambon’s Virtue School under the office of Primary Educational Area Service 1 (2) study the conflict management of administration committee on the performance of the Sri Tambons Virtue School with different position and sex (3) study the suggestion of the conflict management on the performance of the Sri Tambons Virtue School. The research populations consisted of 95 administrators and head of the four administration groups of the Sri Tambons Virtue School. The data collecting instrument was a 5 rating scale questionnaire. Statistics for data analysis were the percentage, mean (μ) and standard deviation (б). Research finding were as follows: (1) The popular conflict management of the Sri Tambon’s Virtue School was compromisation style while avoiding style was minimize used the suggestion of the respondents on conflict management were using compromise and co-operation style but avoid using conquer or confrontation style. (2) Administration committee on the performance of the Sri Tambon’s Virtue School with different position and sex did differ in their conflict management (3) The important suggestion of the administrators was the administration should focus on the compromisation and co-operation and to avoide the conquer or confrontation style.en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการบริหารการศึกษาen_US
Appears in Collections:EDU-EA-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
WARITTHA SONGSAKSUJARIT.pdf5.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.