Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1859
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพจิตร อิ่งศิริวัฒน์-
dc.contributor.authorประภาสิริ คร้ามสมอ-
dc.date.accessioned2023-08-07T03:19:32Z-
dc.date.available2023-08-07T03:19:32Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1859-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ม. (การออกแบบ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556en_US
dc.description.abstractการศึกษามีวัตถุประสงค์คือ เพื่อการศึกษาการจัดแสดงวัตถุโบราณในคลังวัตถุโบราณทาง วรรณคดี ในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติไชยา นําเสนอแนวทางที่เหมาะสม และเกิดประโยชน์สูงสุด สําหรับการจัดแสดงวัตถุโบราณในคลังวัตถุ โบราณทางวรรณคดี พิพิธภัณฑ์แห่งชาติไชยา จากความรู้ และการเก็บข้อมูลทางประวัติศาสตร์ แนวทางนโยบาย เพื่อนํามาพัฒนาการสําหรับการจัดแสดงวัตถุ โบราณในคลังวัตถุโบราณทางวรรณคดี ปัจจุบันให้เกิดประสิทธิภาพ จากการศึกษาพบว่า โบราณวัตถุมีบริมาณมากหลากหลายประเภท และมีร่องรอยชํารุด โดยสามารถแยกประเภทได้ 7 ประเภท คือ ประเภทเครื่องปั้นดินเผา ประเภทประกอบสถาปัตยกรรม ประเภทปติมากรรม ประเภทโลหะ ประเภทกระดูกสัตว์ ประเภทแก้ว ประเภทอื่นๆ เช่น เป้าหลอมโลหะ การจัดการที่เหมาะสมกับการ สดงวัตถุโบราณในคลังวัตถุโบราณทางวรรณคดี พิพิธภัณฑ์สถาน แห่งชาติไชยา ควรเป็นการจัดแสดงในรูปแบบเพื่อการเรียนรู้ และการอนุรักษ์โดยคํานึงถึงความ ปฏิสัมพันธ์ที่ผู้เข้าชมจะได้รับจากการชม ให้ได้ประโยชน์สูงสุด และเอื้อประโยชน์ต่อเยาชน รุ่นหลังได้ มีการตระหนักในการดูแ รดูแลรักษา อนุรักษ์หวงแหนโบราณวัตถุ อันเป็นทรัพยากรที่สําคัญของ ประเทศให้อยู่คู่กับประเทศสืบไปen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectโบราณวัตถุ -- การอนุรักษ์และการบำรุงรักษาen_US
dc.subjectมรดกทางวัฒนธรรมen_US
dc.titleโครงการออกแบบฐานรองรับวัตถุโบราณจำเพาะสิ่งen_US
dc.title.alternativeSpecitic displays for ancient objectsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purpose of this project was to study the display of artifacts and investigate an appropriate approach that helps to maximize the benefit of the artifact exhibition in the Gallery of literature objects in Chaiya National Museum based on the knowledge and historical data. This study led to the conclusion that; 1. The category of archeology objects could be divided into 7 categories which are; earthenware, part of architecture, Metal, Bone, small sculpture and others 2. The optimum approach for archeological exhibition in the Gallery of literature objects in Chaiya National Museum is on the basic of Learning and Conservation display which not only create an awareness of artifacts attendance, but also cherish the artifacts as an important resource of the country. 3. The exhibition must be presented base on the demand and requirement of the people involved for the sake of artifact itself, visitors, museum, society, and country.en_US
dc.description.degree-nameศิลปมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการออกแบบen_US
Appears in Collections:Art-AD-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PRAPARSIRI KRAMSAMO.pdf7.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.