Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1901
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศศิธร ง้วนพันธ์-
dc.contributor.authorณัฐพัชร์ วราสุทธิไพศาล-
dc.date.accessioned2023-08-18T03:54:50Z-
dc.date.available2023-08-18T03:54:50Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1901-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (การตลาด)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557en_US
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษารูปแบบการสื่อสารการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจ ซื้อชาสมุนไพรเพื่อลดเบาหวานของผู้ป่วยเบาหวาน โดยมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาลักษณะของประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อชาสมุนไพรเพื่อลดเบาหวาน (2) เพื่อศึกษารูปแบบการสื่อสารการตลาดของชาสมุนไพรเพื่อลดเบาหวานที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อของ ผู้ป่วยเบาหวาน (3) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการตัดสินใจของผู้ป่วยเบาหวานในการซื้อชาสมุนไพรเพื่อ ลดเบาหวาน โดยเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยแบบสอบถาม (Questionaires) เป็นการสุ่มตัวอยอยู่ในหลายขั้นตอน (Multi-stage Sampling) และเลือกเก็บเฉพาะกลุ่ม ผู้ป่วยเบาหวาน ที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 420 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติ Chi-Square จากการศึกษาได้พบว่า (1) ลักษณะประชากรศาสตร์ทุกด้าน ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพและรายได้ต่อเดือนมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อยี่ห้อของชา สมุนไพรเพื่อลดเบาหวาน โดยมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 (2) รูปแบบการสื่อสารการตลาดด้านการ โฆษณามีความสัมพันธ์กับการเลือกยี่ห้อ บุคคลที่มีอิทธิพลในการซื้อและช่องทางในการซื้อ (3) รูปแบบการสื่อสารการตลาดด้านการส่งเสริมการขาย ด้านการประชาสัมพันธ์ การขายโดยพนักงาน และการจัดกิจกรรมเชิงการตลาดมีความสัมพันธ์กับการเลือกยี่ห้อ เหตุผลในการซื้อ บุคคลที่มีอิทธิพลในการซื้อและความถี่ในการซื้อ (4) รูปแบบการสื่อสารการตลาดด้านการตลาดทางตรงมี ความสัมพันธ์กับการเลือกยี่ห้อ เหตุผลในการซื้อ ความถี่ในการซื้อและช่องทางในการซื้ สมุนไพรเพื่อลดเบาหวาน (5) รูปแบบการสื่อสารการตลาดด้านการตลาดทางอินเตอร์เนตมีความ ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อชาสมุนไพรเพื่อลดเบาหวานของผู้ป่วยเบาหวานในทุก ด้าน ซึ่งได้แก่ การเลือกยี่ห้อ เหตุผลในการซื้อ บุคคลที่มีอิทธิพลในการซื้อ ความถี่ในการซื้อ และช่องทางในการซื้อชาสมุนไพรเพื่อลดเบาหวาน ยกเว้นระดับราคาต่อครั้งในการซื้อไม่มี ความสัมพันธ์โดยมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 (6) การตัดสินใจซื้อของกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่ เลือกซื้อชาสมุนไพรใบหม่อน ตัดสินใจซื้อจากคุณภาพของชาสมุนไพร ด้วยการตัดสินใจของตัวเอง เฉลี่ยการซื้อมากกว่า 3 ในระดับราคาน้อยกว่า 1,000 บาท และสะดวกซื้อกับร้านค้าตัวแทนจาหน่าย มากที่สุดen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการสื่อสารการตลาด -- วิจัยen_US
dc.subjectชาสมุนไพร -- วิจัยen_US
dc.subjectผู้ป่วยเบาหวานen_US
dc.titleรูปแบบการสื่อสารการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อชาสมุนไพรเพื่อลดเบาหวานของผู้ป่วยเบาหวานen_US
dc.title.alternativeMarketing communication pattern effecting diabetic patients'behavior in purchasing herbal tea for reducing diabetesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research studies marketing communication patterns affecting diabetic patients' purchasing behavior of herbal tea for reducing diabetes. The Objectives are to study: (1) the affect purchasing behavior of herbal tea for reducing of demographic characteristics on diabetic patients' behavior (2) the affect of marketing communication on diabetic patients' behavior and (3) diabetic patients' herbal tea purchasing behavior. This quantitative research uses a questionnaire to survey a sample of 420 diabetic patients from Bangkok. The data are analyzed by percentage, average, standard deviation and hypothesis testing was by the Chi-Square. The results show that (1) All demographic characteristics such as gender, age, marital status, level of education, career and monthly income affected the purchasing decision at a statistically significant level of 0.05. (2) Advertising affected purchasing behavior, influential individuals and buying channels (3) Promotions, public relations, sales and events affected purchasing behavior, reasons to purchase, and frequency of purchase. (4) Direct marketing affected purchasing behavior, reasons to purchase, frequency of purchase and buying channels. (5) Internet marketing affected all diabetic patients' buying behavior, reasons to purchase, influential individuals, frequency of purchase and buying channels; however, cost per time did not affect buying behavior. (6) Most diabetic patients favored Mulberry tea. The quality of the herbal tea also influenced the buying decision. The tea was purchased, on average, every three months. The patients spent less than 1,000 baht per purchase and usually bought from a convenience store.en_US
dc.description.degree-nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการตลาดen_US
Appears in Collections:BA-BA-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NATTHAPAT WARASUTTHIPAISARN.pdf2.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.