Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1903
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวารินทร์ บินโฮเซ็น, น้ำอ้อย ภักดีวงศ์-
dc.contributor.authorฤชุตา โมเหล็ก-
dc.date.accessioned2023-08-18T05:31:46Z-
dc.date.available2023-08-18T05:31:46Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1903-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบ 1 กลุ่ม ศึกษาติดตามไปข้างหน้า เพื่อศึกษา ความรุนแรงของอาการในผู้เป็นมะเร็งระยะลุกลามก่อน และหลังได้รับการดูแลตามแนวปฏิบัติการพยาบาลแบบประคับประคอง และศึกษาความพึงพอใจของญาติ โดยใช้กรอบแนวคิด The Nursing Role Effectiveness Model ของ Irvine และคณะในการออกแบบให้พยาบาลที่ผ่านการอบรม Palliative care เป็นผู้นำในการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลแบบประคับประคอง กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เป็นผู้ป่วยมะเร็งในระยะลุกลาม ที่เข้ารับการรักษาแบบประคับประคองตามอาการและญาติผู้ดูแลในหอผู้ป่วย 7Aโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ จำนวนกลุ่มละ 30 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แบบประเมิน Palliative Performance Scale version 2 (2) แนวปฏิบัติการพยาบาลแบบประคับประคองเพื่อจัดการกับอาการปวด เหนื่อยล้า คลื่นไส้ อาเจียน ไม่อยากอาหาร และหอบเหนื่อย (3) แบบบันทึกข้อมูลพื้นฐาน 4) แบบประเมิน ESAS และ 5) แบบวัดความพึงพอใจของญาติผู้ดูแล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย และ Wilcoxon Signed Ranks test ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความรุนแรงของอาการในผู้เป็นมะเร็งระยะลุกลามหลังได้รับการดูแลตามแนวปฏิบัติการพยาบาลแบบประคับประคองทั้ง 5 อาการลดลงกว่าก่อนได้รับการดูแลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) และพบว่า ญาติผู้ดูแลทุกรายมีระดับความพึงพอใจในระดับมาก ผลการวิจัยสนับสนุนประสิทธิผลของแนวปฏิบัติการดูแลแบบประคับประคอง ข้อเสนอแนะ ควรนำแนวปฏิบัติไปใช้ในการดูแลผู้เป็นมะเร็งระยะลุกลามต่อไป และ ควรศึกษาติดตามระยะยาวภายหลังการจำหน่ายen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectมะเร็ง -- ผู้ป่วย -- การดูแล -- วิจัยen_US
dc.titleความรุนแรงของอาการในผู้เป็นมะเร็งระยะลุกลามที่ได้รับการดูแลตามแนวปฏิบัติ การพยาบาลแบบประคับประคอง และความพึงพอใจของญาติผู้ดูแลen_US
dc.title.alternativeSymptom intensity in persons with adv anced cancer receiving palliative nursing care protocol and caregivers' satisfactionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis one group prospective intervention study aimed to investigate symptom intensity in persons with advanced cancer before and after receiving palliative nursing care protocol and caregivers’ satisfaction. The nursing role effectiveness model of Irvine was use as a conceptual framework to develop the program for palliative care nurse who management the protocol .The sample were men and women with advanced all cancer who admitted for supportive their symptoms and caregivers during admitted at 7A department Chulabhorn hospital. A purposive sample of 30 subjects were recruited for this study. The tools use for program intervention, palliative performance scale version 2, palliative nursing care intervention protocol to manage pain, tiredness, nauseated & vomiting, appetite and shortness, data base record forms, Edmonton Symptom Assessment System (ESAS), caregivers’ satisfaction questionnaire. Descriptive statistics and Wilcoxon Signed Ranks test were used in data analysis. The findings revealed that mean score symptom intensity in persons with advanced cancer after receiving palliative nursing care protocol 5 symptoms were significantly (p<.001) lower than before and all caregivers’ satisfaction is high. The findings show the benefits of the palliative nursing care protocol. Further research should follow symptom intensity after discharge.en_US
dc.description.degree-nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการพยาบาลผู้ใหญ่en_US
Appears in Collections:Nur-Adult-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RUECHUTA MOLEK.pdf3.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.