Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1912
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรุจา ผลสวัสดิ์-
dc.contributor.authorวุฒิศักดิ์ เหล็กคำ-
dc.date.accessioned2023-08-21T07:19:37Z-
dc.date.available2023-08-21T07:19:37Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1912-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด. (การศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีจุดประสงค์เพื่อ 1) เพื่อประเมินตัวบ่งชี้ 84 ตัวบ่งชี้ ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เกี่ยวกับความเหมาะสมและการใช้ได้ตามสภาพจริงของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ ในเขตภาคเหนือ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 2) เพื่อวิเคราะห์สาเหตุ และสรุปแนวทางในการพัฒนาตัวบ่งชี้ให้มีความเหมาะสมและใช้ได้ตามสภาพจริงของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ ในเขตภาคเหนือ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ผู้ให้ข้อมูลสำหรับงานวิจัยนี้คือผู้บริหารสถานศึกษาจำนวน 48 คน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้จำนวน134 คน และครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 3 ปีจำนวน 270 คน ผู้ให้ข้อมูลเป็นประชากรของแต่ละกลุ่ม เครื่องมือ การวิจัยที่ใช้คือ แบบประเมินตัวบ่งชี้ 84 ตัวบ่งชี้ กรอบการวิเคราะห์ข้อมูลด้านเหตุผลของความไม่เหมาะสมและไม่สามารถใช้ได้ตามสภาพจริงของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ และคำถามที่ใช้สัมภาษณ์ในเชิงลึกต่อกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้ให้ข้อมูลทั้ง 3 กลุ่มประเมินตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา 3 ตัวบ่งชี้ในระดับที่ต้องปรับปรุง คือตัวบ่งชี้ที่ 1.6 ภูมิใจในความเป็นไทย เห็นคุณค่าภูมิปัญญาไทย นิยมไทย และดำรงไว้ซึ่งความเป็นไทย (x̅= 5.15, S.D. = 1.57) ตัวบ่งชี้ 4.4 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มองโลกในแง่ดี และมีจินตนาการ (x̅= 5.60 , S.D. = 0.98) และ ตัวบ่งชี้ 5.2 มีผลการทดสอบรวบยอดระดับชาติเฉลี่ยตามเกณฑ์ ( x̅= 5.34, S.D. = 1.31) 2) ผลการวิเคราะห์สาเหตุของการประเมินดังกล่าวปรากฏว่า บริบทของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์มีความแตกต่างจากโรงเรียนทั่วไป โดยมีลักษณะของนักเรียนที่แตกต่างและมีข้อจำกัดด้านความพร้อมทางด้านการเรียนรู้ 3) ผลจากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลจำนวน 30 คนทั้งหมดจาก 3 กลุ่มโดยเลือกจากความเต็มใจในการให้สัมภาษณ์ ปรากฏว่าผู้ให้ข้อมูลได้เสนอแนะให้ปรับเกณฑ์ของระดับการประกันคุณภาพของตัวบ่งชี้ไปตามบริบทที่แท้จริง และหากเป็นไปได้ควรกำหนดตัวบ่งชี้ใหม่ที่เหมาะสมและการใช้ได้ตามสภาพจริงen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ -- วิจัยen_US
dc.subjectการประเมินen_US
dc.titleการประเมินตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ในเขตภาคเหนือ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษen_US
dc.title.alternativeThe assessment of indicators of internal quality assurance for the welfare schools in the north under the special education administration officeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research has two objectives: (1)To assess 84 Indicators of Internal Quality Assurance for the welfare schools in the North under the Special Education Administration Office regarding their appropriateness and practicality pertinent to the welfare school context, and (2) To analyze the causes of those indicators being assessed as inappropriate or impractical for the welfare schools.The subjects in the study were 48 school administrators, 134 heads of subject strands, and 270 teachers with three years’ work experience in the welfare school context. All subjects were population of their group. The research instruments were: (1) An assessment Tool of 84 Indicators for Appropriateness and Practicality, (2) An Analytical Framework for Content Analysis of Responses obtained from the subjects via Instrument 1, and (3) A set of In-depth Interview Questions derived from the response analysis via Instrument 2. The results of the study reveal three indicators in need of adjustment or improvement: (1)Indicator 1.6 Pride of Thainess, Appreciation of Thai Wisdom and Thai Culture, and Thainess Preservation (Mean = 5.15, S.D. = 1.57), (2) Indicator 4.4 Creativity, Optimism, and Imagination(Mean = 5.60 , S.D. = 0.98), and (3) Indicator 5.2 Academic Achievement Required at the National Level (Mean = 5.34, S.D. = 1.31). The content analysis of the subjects’ responses obtained from Instrument 1 point to (1) The welfare school context was with acute limitations, and (2) Characteristics of students were diverse and not accommodating for learning readiness.The in-depth interviews with 30 subjects selected on a voluntary basis, yielded two possible solutions: (1) Adjustment of the Criteria and Scoring for the identified indicators, and (2) Development of new indicators that are appropriate and relevant to the welfare school context.en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineการศึกษาen_US
Appears in Collections:EDU-ES-D-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
WUTTISAK LEKKHAM.pdf5.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.