Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1918
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มานิต บุญประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | นนทวัฒน์ อามีน | - |
dc.date.accessioned | 2023-08-22T05:15:27Z | - |
dc.date.available | 2023-08-22T05:15:27Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1918 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต ตามรูปแบบของซิปป์ (CIPP Model) ในด้านบริบท ด้านปัจจัยนาเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต ผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 74 คน ประกอบด้วย อาจารย์ 3 คน ศิษย์เก่า 23 คน นักศึกษา 48 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.918 วิเคราะห์ข้อมูลโดยคานวณหาความถี่ ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (Mean : ̅) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) ผลการวิจัยพบว่า ในการพิจารณาภาพรวม อาจารย์ นักศึกษาและศิษย์เก่ามีความเห็นว่าหลักสูตรอิสลามศึกษามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากโดยเรียงลำดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านผลผลิต ( ̅x = 4.16) ด้านกระบวนการ ( ̅x = 4.05) ด้านปัจจัยนำเข้า ( ̅x = 3.96) และด้านบริบท ( ̅x = 3.88) 1) ด้านบริบท ได้แก่ วัตถุประสงค์ของหลักสูตรมีความเห็นในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( ̅x = 3.74) โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( ̅x = 4.27) ในเรื่องวัตถุประสงค์ ครอบคลุมทั้งทางด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย สำหรับเนื้อหารายวิชาในหลักสูตร มีความเห็นในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( ̅x = 3.88) โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( ̅x = 4.21) และจำนวนหน่วยกิตของแต่ละรายวิชามีความเหมาะสมกับเนื้อหาของรายวิชา 2) ด้านปัจจัยนาเข้า ได้แก่ คุณลักษณะของอาจารย์ นักศึกษาและศิษย์เก่า มีความเห็นในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( ̅x = 4.04) โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( ̅x = 4.56) เรื่อง อาจารย์ มีวุฒิการศึกษาตรงกับสาขาวิชาอิสลามศึกษา สำหรับสิ่งอำนวยความสะดวก มีความเห็นในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( ̅x = 3.96) โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( ̅x = 4.62) เรื่องมีสื่อโสตทัศนูปกรณ์ที่เพียงพอ 3) ด้านกระบวนการ ได้แก่ กระบวนการเรียนการสอน อาจารย์ นักศึกษา และศิษย์เก่า มีความเห็นอยู่ในระดับมาก ( ̅x = 3.75) โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( ̅x = 4.44) เรื่องอาจารย์มีการสอดแทรกจริยธรรมให้นักศึกษา สำหรับเรื่องการวัดและประเมินผล มีความเห็นในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( ̅x = 4.05) โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด (x̅ = 4.48) ในเรื่องการประเมินทั้งระหว่างภาคเรียนและปลายภาคเรียน 4) ด้านผลผลิต ได้แก่ คุณลักษณะของบัณฑิต อาจารย์ นักศึกษา และศิษย์เก่า มีความเห็นในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( ̅x = 4.16) โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( ̅x = 4.53) ในเรื่องมีการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ของบัณฑิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การประเมินหลักสูตร -- วิจัย | en_US |
dc.title | การประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.title.alternative | The Evaluation of bachelor of aris program in Isalamic studies Rangsit University | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The objective of this study is to evaluate the curriculum of the Bachelor of Arts Program in Islamic Studies, Rangsit University by applying CIPP Model focusing on factors of context, input, process and product. The research data was collected from 74 respondents including 3 teachers, 23 alumni and 48 students by using questionnaire, with its reliability 0.918. Descriptive statistics, i.e. frequency, percentage, average mean and standard deviation were used to analyze the collected data. Statistical results show: Overall, teachers, students and alumni rated the appropriateness of the Islamic Studies Program at high level in the following descending orders: product ( ̅x = 4.16), process ( ̅x = 4.05), input ( ̅x = 3.96) and context ( ̅x = 3.88). Regarding its context, i.e. the appropriateness of the objectives of the curriculum overall were rated at high level ( ̅x = 3.74) with the highest mean ( ̅x = 4.27) on the objectives cover cognitive domain, affective domain, psychomotor domain. For the course content, the appropriateness overall is also at high level ( ̅x = 3.88) with the highest mean ( ̅x = 4.21) on credit value in relation to each course content. For input factor, i.e. the quality of instructors, students and alumni’s overall opinions is at high level ( ̅ = 4.04) with highest mean ( ̅ = 4.56) on the instructors’ qualifications which directly support the field of Islamic Studies. For the teaching and learning facilities, the overall opinion is at high level ( ̅x = 3.96) with highest mean ( ̅x = 4.62) on the sufficient audiovisual media. For the process factor, i.e. teaching and learning management, students and alumni also rated at high level ( ̅x = 3.75) with highest mean ( ̅x = 4.44) on instructors’ inclusion of moral and ethics in the teaching. For the learning assessment, the overall opinion of respondents is also at high level ( ̅x = 4.05) with highest mean ( ̅x = 4.48) on conducting both formative and summative assessment. For product factor, i.e. the quality of graduates; students, alumni and instructors’ overall opinion is at high level ( ̅x = 4.16) with highest mean ( ̅x = 4.53) on the development of moral and ethics and the desirable attributes of graduates. | en_US |
dc.description.degree-name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | หลักสูตรและการสอน | en_US |
Appears in Collections: | EDU-CI-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
NONTAWAT AMEEN.pdf | 2.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.