Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1921
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีสมร พุ่มสะอาด-
dc.contributor.authorชุลีกร บุญเสริมสุขเจริญ-
dc.date.accessioned2023-08-22T05:42:31Z-
dc.date.available2023-08-22T05:42:31Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1921-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อประดิษฐ์ท่ารานาฏศิลป์พื้นบ้าน ชุด รำอิฐมอญ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้การรำ ชุด รำอิฐมอญ ก่อนและหลังการทดลอง 3) เพื่อศึกษาทักษะปฏิบัติการ รำนาฏศิลป์พื้นบ้านชุดรำอิฐมอญ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห้อง ป. 5/3 ที่เรียนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนเซนต์โยเซฟเมืองเอก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชน เขต 1 จังหวัดปทุมธานี จำนวน 35 คน ซึ่งได้เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีเลือก แบบเจาะจง (Purposive Selection) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1)ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับการ ทำอิฐมอญและการประดิษฐ์ท่ารำ 2) ท่ารำ ชุด รำอิฐมอญทั้ง 6 ท่า 3) คู่มือประกอบการรำอิฐมอญ 4) แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการรำอิฐมอญ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 5) แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ เรื่องการรำอิฐมอญ เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อและ 6) แบบวัดทักษะการปฏิบัติท่ารา ลักษณะเป็นแบบสังเกต ตามเกณฑ์ที่ผู้วิจัยได้กำหนดไว้ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยผู้วิจัยได้ดำเนินการ ทดลองและเก็บข้อมูลด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยคำนวณหาค่า x̅ , SD และเปรียบเทียบผลการ เรียนรู้โดยใช้การทดสอบค่า t (t– test) แบบ Dependent ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ท่ารำชุดราอิฐมอญ มี 6ท่า ได้แก่ ท่าที่ 1 ท่าพายเรือหาดิน ท่าที่ 2 ท่าส่งดินเตรียม ผสมอิฐมอญ ท่าที่ 3 ท่าย่าผสมดินเตรียมทำอิฐมอญ ท่าที่ 4 ท่าปั้นดินทำอิฐมอญ ท่าที่ 5 ท่าเผาอิฐ และท่าที่ 6 ท่ารำอิฐมอญ ผลการตรวจสอบประสิทธิภาพท่ารำจากผู้เชี่ยวชาญ 3 คน มีความคิดเห็น ตรงกันว่า ท่ารำทั้งหมดมีความสอดคล้องกับสาระการเรียนท้องถิ่น โดยมีค่า IOC = 1.00 2) ผลการเรียนรู้การราอิฐมอญ นักเรียนทุกคนหลังเรียนการปฏิบัติท่ารา สูงกว่าก่อนเรียน ทุกคนและเมื่อเปรียบเทียบ คะแนนเฉลี่ยของผลการเรียนรู้หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสาคัญที่ 0.1 3) ทักษะการปฏิบัติท่ารำชุด รำอิฐมอญ นักเรียนทุกคนมีทักษะการปฏิบัติในการรำชุด รำอิฐมอญ ทั้ง 6 ท่ารำอยู่ในระดับดีมาก และรำได้ดีมากที่สุด คือ ท่าที่ 1 ท่าพายเรือหาดิน x̅ = 4.60en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectโรงเรียนเซนต์โยเซฟเมืองเอก -- ไทยen_US
dc.subjectนาฏศิลป์ -- การศึกษาและการสอน -- วิจัยen_US
dc.subjectรำอิฐมอญen_US
dc.titleการประดิษฐ์ท่ารำนาฏศิลป์พื้นบ้าน ชุด รำอิฐมอญ สาระนาฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเซนต์โยเซฟเมืองเอกen_US
dc.title.alternativeThe choreography on Thai folk dance series of Ramit Mon subject area of art grade 5 of Saint Joseph Muang Ake Schoolen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research has the purpose of 1) To create local dancing art called as clay bricks style 2) To compare with learning result of clay bricks dancing style before and after test. 3) To study practical skills of clay bricks dancing style. There are sample groups of 35 grade 5 students in first semester year 2014 at Saint Joseph Muang Ake School, Office of the Private Education Commission, Area 1, Phathumtani province. The samples groups are Purposive Selection by using research tools such as 1) Local wisdom about creating local dancing art called as clay bricks style 2) Type of 6 clay bricks styles dancing 3) Guidelines for clay bricks dancing style 4) Study plan for learning activity topic clay brick dancing of grade 5 students 5) Learning test on topic clay brick dancing by using 4 choices of 20 paper test set and 6) Skill test on clay brick dancing observation and collecting data by author using x̅ , SD and comparing to learning test by applying t (t-test) as Dependent The research results indicate that 1) All 6 Clay brick dancing styles, there are: 1) Boating for ground 2) Mix ground with clay brick 3) Drag the feet on ground for clay brick 4) Mold clay brick 5) Burning clay brick and 6) Clay brick dancing. The result from 3 experts indicates the same way that all dancing styles matching with local learning activities with value of IOC = 1.00 2) The result of clay brick dancing indicate that all students improve the skills higher than before and average value at 0.1 3) The clay brick dancing of students skills is excellent at high level on the first dancing style called boating for ground at value of x̅ = 4.60en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
Appears in Collections:EDU-CI-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
CHULIKON BOONSOEMSUKCHAROEN.pdf9.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.