Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1932
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สิตานนท์ เจษฎาพิพัฒน์, ชอบวิทย์ ลับไพรี | - |
dc.contributor.author | เสงี่ยม บุญจันทร์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-08-22T08:32:51Z | - |
dc.date.available | 2023-08-22T08:32:51Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1932 | - |
dc.description | การปรับปรุงระบบยุติธรรมจากระบบกล่าวหาเป็นระบบกึ่งไต่สวน = | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาจุดอ่อนจุดแข็งของการปรับระบบยุติธรรมจากระบบกล่าวหาเป็น “ระบบกึ่งไต่สวน” อิงกรณี คดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง คดีแรงงาน คดีสิ่งแวดล้อม คดีผู้บริโภค (2) เสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงระบบกล่าวหาเป็น “ระบบกึ่งไต่สวน” ด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพใช้กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้พิพากษาทำหน้าที่ศาล ทนายความ อัยการผู้รับทำคดี และผู้เสียหายในคดีคดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง คดีแรงงาน คดีสิ่งแวดล้อม คดีผู้บริโภค ผลการวิจัยพบว่า ควรใช้ “ระบบกึ่งไต่สวน” เข้ามาร่วมในกระบวนการพิจารณา เพราะจะสามารถแก้ไขปัญหาของระบบกล่าวหาที่อาจจะไม่สามารถให้ความเป็นธรรมต่อคู่ความได้ อีกทั้งสามารถลดอิทธิพลของปัจ จัยภายนอกเช่น อิทธิพล เงิน และความลำเอียงได้ แต่การนำไปปรับปรุงให้เป็นระบบและเป็นทางการต้องมีความชัดเจน และเปิดเผย ระบบยุติธรรมของไทยก็จะมีความยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพทั้งในด้านความรวดเร็ว เป็นธรรมและผลสัมฤทธิ์ในการคุ้มครองผู้อ่อนแอและขาดที่พึ่งทางกฎหมายได้ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ระบบยุติธรรม | en_US |
dc.subject | กฎหมาย -- ไทย | en_US |
dc.title | การปรับปรุงระบบยุติธรรมจากระบบกล่าวหาเป็นระบบกึ่งไต่สวน | en_US |
dc.title.alternative | Improving the justice systems from accusatorial system to semi inquisitorial system | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The aim of this research is (1) to investigate the strengths and weaknesses of the current justice systems; and (2) to recommend the ways to improve them. This research used a qualitative research approach by conducting in-depth interviews of key informants of judges, lawyers, prosecutors, and injured persons of criminal division for holders of political positions in the justice systems, based also on four court cases: environment; politics; consumers and labor. Research found that "Semi Inquisitorial System" should be a way in finding facts. Because it solve problems caused by accusatorial system which may not provide fairness justice for both parties. Also "Semi Inquisitorial System" can dramatically reduce outside influence factors such as politic, bribery, and bias. Improving of justice systems to be more systematic and official need clear and transparency effort. Therefore, Thai justice system will be more flexible and efficiency in term of fast, fair, and effective to protect injured and out-of-reach by law persons. | en_US |
dc.description.degree-name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | ผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง | en_US |
Appears in Collections: | CSI-LSBP-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SANGIAM BOONJUNTR.pdf | 10.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.