Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1952
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิรภา จำปาทอง, สุธี เอี่ยมเจริญยิ่ง | - |
dc.contributor.author | กฤษณะ วิจิตร | - |
dc.date.accessioned | 2023-08-25T03:52:04Z | - |
dc.date.available | 2023-08-25T03:52:04Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1952 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (นิติศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557 | en_US |
dc.description.abstract | การประดิษฐ์ที่จะขอรับจดสิทธิบัตรได้นั้นต้องมีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขกล่าวคือ ต้อง เป็นการประดิษฐ์ขึ้นใหม่ และมีขั้นตอนการประดิษฐ์ที่สูงขึ้นและที่สำคัญสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในอุตสาหกรรมได้ ถ้าการประดิษฐ์ตรงตามเงื่อนไขดังกล่าวก็สามารถขอรับจดสิทธิบัตรเพื่อให้การ ประดิษฐ์ของตนได้รับความคุ้มครองจากรัฐได้และไม่ว่าจะเป็นการประดิษฐ์สาขาใดก็ตาม สิ่งประดิษฐ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพเป็นการประดิษฐ์อีกสาขาหนึ่งที่สามารถได้รับความ คุ้มครองตามกฎหมายสิทธิบัตรเช่นกัน แต่อย่างไรก็ตามการนำเอาเทคโนโลยีและความรู้ทางด้าน ต่างๆของวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับสิ่งมีชีวิต หรือชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิต หรือผลผลิตของ สิ่งมีชีวิต ก็ส่งผลให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์ว่า สิ่งประดิษฐ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพเหล่านี้ขัดต่อความ สงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือไม่และสามารถขอรับจดสิทธิบัตรได้หรือไม่กลุ่ม สหภาพยุโรปได้ให้ความสำคัญกับตัวบทกฎหมายและได้บัญญัติหลักเกณฑ์เกี่ยวกับสิ่งประดิษฐ์ที่ไม่ สามารถขอรับจดสิทธิบัตรไว้อย่างชัดเจนในขณะที่สหรัฐอเมริกาไม่มีบทบัญญัติไว้โดยตรง เหมือนกับสหภาพยุโรปแต่ก็มีคดีที่เกี่ยวกับสิ่งประดิษฐ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพอยู่และได้วางหลักการ พิจารณาไว้ในคำพิพากษาอย่างชัดเจน สำหรับประเทศไทยมีพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่งได้บัญญัติสิ่งถึงประดิษฐ์ที่ ไม่สามารถขอรับจดสิทธิบัตรไว้ในมาตรา 9 แต่ไม่ได้กล่าวถึงหรือมีบทบัญญัติที่ชัดเจนเกี่ยวกับการ ขอรับจดสิทธิบัตรในสิ่งประดิษฐ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพอีกทั้งยังไม่เคยมีคำวินิจฉัยของศาลเกี่ยวกับ สิ่งประดิษฐ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพอีกด้วยดังนั้นต่อไปเมื่อการประดิษฐ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพมี ความสำคัญมากขึ้นต่อการพัฒนาประเทศจึงควรแก้ไขกฎหมายเพื่อให้เกิดความชัดเจนในเรื่องนี้ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | สิทธิบัตร -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | en_US |
dc.subject | เทคโนโลยีชีวภาพ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | en_US |
dc.subject | ลิขสิทธิ์ -- การคุ้มครอง | en_US |
dc.title | ข้อยกเว้นการจดสิทธิบัตร โดยเหตุอันเนื่องจากการขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศิลธรรมอันดีของประชาชน : กรณีศึกษา สิ่งประดิษฐ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพ | en_US |
dc.title.alternative | The exclusions of patentability of biotechnology on the grounds of public order and morality | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | An invention which could be patentable must meet requirements. It should be novelty, inventive step and industrially applicable. Therefore, any types of invention that meets these requirements including biotechnological inventions would be patented and protected by state and patent law. However, it is argued that any technological and science application that use living organisms or a piece of living things or living products might be against public order and morality. In the European Union, there is a clear legal concept of biotechnological invention. Unlike European Union, although United States has no specific legal provision to control over this issue, there are a large number of cases relating to biotechnological inventions and many clear principles stated in court decisions. Biotechnological inventions have just started to develop in Thailand so it is quite a new field in the country. According to article 9 of Patent Act B.E 2522, it clearly stateswhichkind of inventions could not be patented. However, there is no clear legal concept and any court decision concerning the patentability of biotechnological inventions. It can be said that biotechnological inventions are significant to the development of the country so Thai Patent Act relating to this issue should be amended. | en_US |
dc.description.degree-name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | นิติศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | Law-Law-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
KRISANA VIJIT.pdf | 1.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.