Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1970
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัชนี นามจันทรา, นิภา กิมสูงเนิน | - |
dc.contributor.author | ยุวดี ประเสริฐ | - |
dc.date.accessioned | 2023-09-19T05:16:23Z | - |
dc.date.available | 2023-09-19T05:16:23Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1970 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม (การพยาบาลผู่ใหญ่)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้เป็นวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลก่อนและหลังการทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการควบคุมตนเองผ่านสื่อแอปพลิเคชั่นไลน์ ต่อความวิตกกังวล พฤติกรรมความร่วมมือ และระยะเวลาในการตรวจของผู้ป่วยที่ได้รับการส่องกล้องหลอดลม ณ ห้องส่องหลอดลม โรงพยาบาลราชวิถี จำนวน 60 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 30 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการควบคุมตนเองผ่านสื่อแอปพลิเคชั่นไลน์ กลุ่มควบคุมได้รับข้อมูลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความวิตกกังวลขณะเผชิญ (State-Trait Anxiety Inventory Form X-1) แบบบันทึกพฤติกรรมการให้ความร่วมมือในการส่องกล้องหลอดลม และแบบบันทึกผลการส่องกล้องหลอดลม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติสถิติเชิงพรรณนา two-way repeated-measures ANOVA และ Mann Whitney U test ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มทดลองมีความวิตกกังวลลดลงและต่ากว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 พฤติกรรมความร่วมมือ ของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 และระยะเวลาในการส่องกล้องหลอดลมของกลุ่มทดลองสั้นกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาเสนอแนะให้มีการประยุกต์โปรแกรมการควบคุมตนเองผ่านสื่อแอปพลิเคชั่นไลน์ในการเตรียมผู้ป่วยที่ได้รับการทำหัตถการ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ความวิตกกังวล -- การป้องกันและควบคุม -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ความวิตกกังวล -- การทดสอบ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | การส่องกล้องตรวจหลอดลม | en_US |
dc.title | ผลของโปรแกรมการควบคุมตนเองผ่านสื่อแอปพลิเคชั่นไลน์ต่อความวิตกกังวล พฤติกรรมความร่วมมือ และระยะเวลาในการตรวจของผู้ป่วยที่ได้รับการส่องกล้องหลอดลม | en_US |
dc.title.alternative | Effects of self-regulation program via line application on anxiety, cooperative behaviors, and duration of examination in patients undergoing bronchoscopy | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This quasi-experimental research, which employed two sample groups and pretest-posttest design, aimed to study the effects of Self-Regulation Program via Line Application on anxiety, cooperative behaviors, and duration of examination in patients undergoing bronchoscopy at the Bronchoscopy Unit, Rajavithi Hospital. The samples consisted of 60 patients recruited by using the purposive sampling method and divided into an experimental group who use the program and a control group who received usual information, 30 patients for each group. The research instruments for data collection included demographic questionnaire, State-Trait Anxiety Inventory Form X-1, Cooperative Behaviors Record, and Bronchoscopy Record. The data were analyzed using descriptive statistics, two-way repeated-measures ANOVA and Mann Whitney U test. The result of the study revealed that after the program, the experimental group’s anxiety scores were significantly decreased and significantly less than the control group (p < .001). The experimental group had cooperative behaviors significantly higher (p < .001) and duration of bronchoscopy significantly shorter (p < .05) than the control group. This study suggested the implementation of the self-regulation program via line application for preparing patients undergoing the procedure. | en_US |
dc.description.degree-name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การพยาบาลผู้ใหญ่ | en_US |
Appears in Collections: | Nur-Adult-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
YUVADEE PRASERT.pdf | 1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.