Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1998
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพงษ์ศิลป แก้วรัตนศรีโพธิ์-
dc.date.accessioned2023-09-27T03:19:54Z-
dc.date.available2023-09-27T03:19:54Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1998-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพชุดการสอนเรื่องงานไฟฟ้าตาม หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรังสิต วิธีดำนินการวิจัย ผู้วิจัยได้นำชุดการสอนที่สร้างขึ้นมาทดลองกับกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็น นักศึกษาที่เรียนหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยรังสิต ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2544 จํานวน 30 คน โดยวิธีการเลือกแบบสุ่มธรรมดา ในระหว่างการเรียนการสอน ให้นักศึกษาทําแบบทดสอบหลังเรียนในแต่ละหัวข้อเรื่อง เมื่อเรียนจบทุกบทเรียนแล้วให้นักศึกษา ทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ แล้วนําคะแนนจากแบบทดสอบที่ได้ มาคํานวณหาประสิทธิภาพ ผลการวิจัยพบว่า ชุดการสอนที่สร้างมีประสิทธิภาพตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ โดยมีผลความ ก้าวหน้าทางการเรียนของนักศึกษาโดยเฉลี่ยเท่ากับ 86.24 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยเฉลี่ย เท่ากับ 81.28en_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการสอนด้วยสื่อ -- วิจัยen_US
dc.subjectสื่อการสอน -- วิจัยen_US
dc.subjectแบบเรียนสำเร็จรูป -- วิจัยen_US
dc.subjectไฟฟ้า -- แบบเรียนสำเร็จรูป-- วิจัยen_US
dc.titleการสร้างและหาประสิทธิภาพชุดการสอนเรื่องงานไฟฟ้า หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.title.alternativeThe construction and evaluation an efficiency by aninstructional pagkage of electrical work at Rangsit Universityen_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractThe purpose of this experimental research was to construct and find out efficiency by Instructional package of Electrical work,offered at Rangsit University as a curriculum in the school of Engineering. The Instructional package was constructed and tried out with 30 samplers from the first year engineering students who were attending classes in the second semester of the academic year of 2001. The experiments were conducted with achievement tests after each topic of studying. The obtained scores from the tests were analysed for determining the efficiency of the learning achievement. The result revealed that the Instructional package was efficient for supporting the assigned hypothesis. The advancement was 86.24 and the average of learning achievement was 81.28.en_US
Appears in Collections:Eng-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PHONGSIN KAEWRATTANASRIPHO.pdf1.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.