Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1999
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เกสรา สุขสว่าง | - |
dc.date.accessioned | 2023-09-27T03:23:32Z | - |
dc.date.available | 2023-09-27T03:23:32Z | - |
dc.date.issued | 2543 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1999 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาความเป็นผู้มีจริยธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อเปรียบเทียบการปฏิบัติตนอย่างมีจริยธรรมของนักศึกษาจําแนกตาม เพศ รหัสนักศึกษา คะแนนเฉลี่ย กลุ่มคณะ และสถานภาพการสมรสของบิดามารดา 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ความคิดเห็นของนักศึกษาด้านการปฏิบัติตนอย่างมีจริยธรรม กับความคิดเห็นของอาจารย์ด้านการปฏิบัติตนอย่างมีจริยธรรมของนักศึกษา ประชากรที่ศึกษาได้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตทุกชั้นปี จํานวน 10,264 คน ได้กลุ่ม ตัวอย่างจํานวน 1,572 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS สถิติพื้นฐานสําหรับ วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย สถิติสําหรับทดสอบสมมติฐานได้แก่ t-test, F-test และแปลงค่า t หรือค่า F ที่มีนัยสําคัญเป็นค่าสหสัมพันธ์ (W และ n) ผลการวิจัยพบว่า การปฏิบัติตนของนักศึกษาแตกต่างกันจําแนกตาม เพศ รหัสนักศึกษา คะแนนเฉลี่ยกลุ่มคณะ และสถานภาพการสมรสของบิดามารดา ดังนี้ 1,1 นักศึกษาชายปฏิบัติตนอย่างมีจริยธรรมในระดับปานกลาง ส่วนนักศึกษา หญิงปฏิบัติตนอย่างมีจริยธรรมในระดับมาก 1,2 นักศึกษารหัส 40xxxx ปฏิบัติตนอย่างมีจริยธรรมในระดับปานกลาง ส่วน นักศึกษารหัสอื่น ๆ ปฏิบัติตนอย่างมีจริยธรรมในระดับมาก 1.3 นักศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยต่ํากว่า 2.00 และคะแนนเฉลี่ย 2.00-2.49 ปฏิบัติตน อย่างมีจริยธรรมในระดับปานกลาง ส่วนนักศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ย 2.50-2.99 และคะแนนเฉลี่ยมากกว่า 3.00 ปฏิบัติตนอย่างมีจริยธรรมในระดับมาก 1.4 นักศึกษากลุ่มคณะแพทย์ศาสตร์และวิทยศาสตร์สุขภาพ ปฏิบัติตนอย่างมีจริยธรรมในระดับมาก 1.5 นักศึกษาที่บิดา มารดาอยู่ด้วยกันและนักศึกษาที่บิดามารดาหย่าร้างปฏิบัติตน อย่างมีจริยธรรมในระดับมาก ส่วนนักศึกษาที่บิดา มารดาแยกกันอยู่ และ นักศึกษาที่บิดาหรือมารดาถึงแก่กรรม ปฏิบัติตนอย่างมีจริยธรรมในระดับ ปานกลาง 2. ความสัมพันธ์ระหว่าง ความคิดเห็นของนักศึกษาด้านการปฏิบัติตนอย่างมีจริยธรรมกับความคิดเห็นของอาจารย์ด้านการปฏิบัติตนอย่างมีจริยธรรมของนักศึกษาไม่สัมพันธ์กัน ไม่เป็นไปตามสมมติฐาน | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยรังสิต -- นักศึกษา -- แง่ศีลธรรมจรรยา | en_US |
dc.title | ความเป็นผู้มีจริยธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.title.alternative | Rangsit University students' ethics | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This research were conducted to study Rangsit University students' ethic. The purposes are to: 1) Compare the student's ethical conducts considering gender, student code, grade point average, majors and parent's marital status. 2) To study the relationship between students' opinion on their ethical behaviors and teacher's opinions on student's ethic, The sample group comprised of 1,572 of 10,264 students in Rangsit University. The instrument used in this study was questionnaire designed and used by the researcher. For the statistical treatment, data from questionnaire were analyzed using frequency, percentage, means, t-test and F-test to describe the level of ethic comparing gender, student code, grade point average, majors, and parent's marital status. The relationship between students' opinion on their ethical behaviors and teachers' opinions on student's ethic was analyzed using the method of w and n. The finding indicated that: 1. The scheffe' method of multiple comparison showed that in each order-pair of groups there were significant differences in gender, student code, grade pointed average, majors and parents' marital status such as; 1.1 The level of behavioral ethics was medium for male students, while female students' behavioral ethics reached high level. 1.2 Students with code 40xxxx practice medium level behavioral ethics, while another students' behavioral ethics reached high level. 1.3 Students with lower than 2.00 and between 2.00 -2.49 grade point average had medium level ethics. Students with between 2.50 -2.99 and higher than 3.00 grade point average had high level behavioral ethics. 1.4 Students major in medicine and health science had high level of behavioral ethics. 1.5 Students whose parents live together and divorced practiced high level of behavioral ethics, while students whom either father or mother had passed away, had medium level of behavioral ethics. 2. Contradict to the hypothesis, there was no relationship between student's opinions on their behavioral ethics and teacher's opinions on all students' ethical issues. | en_US |
Appears in Collections: | LiA-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
KESARA SOOKSAWANG.pdf | 2.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.