Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2043
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปณิธิ เนตินันทน์ | - |
dc.contributor.advisor | มีนนภา รักษ์หิรัญ | - |
dc.contributor.author | ณภษร เผ่ากล้า | - |
dc.date.accessioned | 2023-10-25T08:03:15Z | - |
dc.date.available | 2023-10-25T08:03:15Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2043 | - |
dc.description | ดุษฏีนิพนธ์ (ปร.ด. (เทคโนโลยีสารสนเทศ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565 | en_US |
dc.description.abstract | การรับสัมผัสกับมลพิษทางอากาศในระดับสูงเป็นอันตรายต่อสุขภาพเพิ่มโอกาสทำให้เกิด การติดเชื้อทางเดินหายใจ โรคหลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งปอด ส่งผลกระทบต่อสุขภาพทั้งในระยะสั้น และระยะยาว การเตือนภัยเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศควรเร่งดำเนินและเผยแพร่ไปให้บุคคลที่เกี่ยวข้องทราบพร้อมข้อมูลเพิ่มเติมที่จำเป็น หากการดำเนินล่าช้าอาจส่งผลต่อสุขภาพหรือความเจ็บป่วยที่อาจเกิดขึ้นแชทบอทเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ใช้เป็นช่องทางบริการการสื่อสารตอบสนองได้อย่างรวดเร็วทั้งการใช้งานสำหรับธุรกิจและส่วนบุคคล ระบบนิเวศของอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งประกอบด้วย อุปกรณ์อัจฉริยะ โปรเซสเซอร์ เซนเซอร์ และเครือข่าย สำหรับการรวบรวม การส่งผ่านและการดำเนินการข้อมูลที่ได้จาก สภาวะแวดล้อม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและพัฒนาอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งเพื่อการศึกษาด้วยการใช้ แชทบอทกับการติดตามตรวจสอบสารสนเทศด้านสิ่งแวดล้อมเชิงเวลาจริง ซึ่งจะช่วยป้องกันการขาดเรียนและปกป้องสุขภาพของนักเรียน การบริการด้วยแชทบอทสารสนเทศสภาวะสิ่งแวดล้อม (ENICS) บนพื้นฐาน อินทอร์เน็ตสรรพสิ่งเพื่อการศึกษา (IoET) เป็นแอพพลิเคชันด้านความปลอดภัยของกรอบโครงร่างโรงเรียนอัจฉริยะ ความตั้งใจเชิงพฤติกรรมผู้ใช้แต่ละบุคคลของการบริการแชทบอทเป็นปัจจัยสาคัญเพื่อความเข้าใจสำหรับประสบการณ์และการยอมรับการบริการแชทบอทของผู้ใช้ ด้านการศึกษา ทฤษฎีการยอมรับและการใช้เทคโนโลยี (UTAUT) ถูกนำมาขยายและประยุกต์ใช้เพื่อประเมินการยอมรับการบริการแชทบอทของผู้ใช้ด้วยโมเดลสมการเชิงโครงสร้างแบบกำลังสองน้อยสุดบางส่วน (PLS-SEM)ผลการวิจัยเกี่ยวข้องกับการออกแบบนวัตกรรมและการพัฒนาของไลน์แชทบอทและระบบ สารสนเทศสภาวะแวดล้อมด้วยอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่ง และความเข้าใจของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจ เชิงพฤติกรรมของผู้ใช้ในการใช้บริการแชทบอทอย่างต่อเนื่อง การค้นพบที่สำคัญส่งผลกระทบอย่าง มีนัยสำคัญต่อปัจจัย ดังนี้ ความสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรม ความคาดหวังในประสิทธิภาพ ความคาดหวังใน ความพยายาม อิทธิพลทางสังคม สภาพสิ่งอานวยความสะดวก สุขภาพและความปลอดภัย ความตั้งใจเชิงพฤติกรรม และพฤติกรรมการใช้งานการบริการด้วยแชทบอทสารสนเทศสภาวะสิ่งแวดล้อม | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง | en_US |
dc.subject | สภาวะแวดล้อม | en_US |
dc.subject | กลุ่มสนทนาออนไลน์ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | การพัฒนาซอฟต์แวร์ | en_US |
dc.subject | โรงเรียน -- การใช้เครื่องจักรกล | en_US |
dc.title | การออกแบบระบบแชทบอทสารสนเทศสภาวะแวดล้อมบนพื้นฐานกรอบโครงร่างโรงเรียนอัจฉริยะ | en_US |
dc.title.alternative | Design of an environment information Chatbot system based on a smart school framework | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | Electronic information services are powerful platforms that significantly impact daily life and make system development and administration more easily accessible and efficient. The development and management of complex software and systems can be made simpler by reducing the number of crosscutting concerns and complex information relationships. The designs can be accomplished by increasing the dimensional information modularity of educational information services and the component flexibility of those services. Whenever there are advancements made to educational information systems and services, there is bound to be a multitude of designs and developments that need to be tackled. The findings of this study suggest a new model for educational information frameworks, one composed of multidimensional information layers and an aspectoriented approach. Throughout the education and information software development life cycle, functional semantics and component composition are utilized in software design and development to automate the provision of improved comprehension, reusability, adaptability, and multidimensional information integration for the practical application of educational components, information systems, and services. The findings demonstrate and evaluate a design model with increased structuring and semantic modularity, adaptation via fine-grained design, and component reuse. This accomplishment of the educational information system eliminates redundant software components with 38.76 percent compared to the software development based on the object orientation | en_US |
dc.description.degree-name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | เทคโนโลยีสารสนเทศ | en_US |
Appears in Collections: | ICT-IT-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
NAPASORN PHAOKLA.pdf | 3.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.