Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2075
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิบลูย์ ตระกูลฮุ้น | - |
dc.contributor.author | วรรณอนงค์ จันทร์อ่อน | - |
dc.date.accessioned | 2023-11-02T10:13:28Z | - |
dc.date.available | 2023-11-02T10:13:28Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2075 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ดศ.ม. (ดุริยางคศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง การตีความและการฝึกซ้อมในบทเพลงโซนาตาหมายเลข 14 ในกุญแจเสียงซีไมเนอร์ เค. 457 ประพันธ์โดยโมสาร์ท มีวัตถุประสงค์เพื่อตีความและวิเคราะห์เทคนิคการบรรเลง และเพื่อนาเสนอแนวทางการฝึกซ้อม อีกทั้งมีขอบเขตการวิจัยในการวิเคราะห์และตีความเทคนิคทางการบรรเลง 6 ประเด็น ได้แก่ การนำเสนอแนวทำนองเพลง โน้ตประดับ การเลือกใช้นิ้ว ความเข้มเสียง การควบคุมลักษณะเสียง และการใช้เพเดิล จากการศึกษาด้านประเด็นเทคนิคทางการบรรเลง ผู้วิจัยให้ความสำคัญกับการเล่นแนวทำนองให้ชัดเจน และส่วนใหญ่ได้เปลี่ยนการใช้นิ้วของโน้ตประดับให้ต่างจากโน้ตต้นฉบับ รวมทั้งยังเปลี่ยนการใช้นิ้วบริเวณอื่นๆ ด้วย นอกจากนี้ ผู้วิจัยใช้ความเข้มเสียงเพิ่มเติมจากโน้ตต้นฉบับบางแห่ง โดยเล่นเบาลงหรือดังขึ้นทีละน้อยตามทิศทางการเคลื่อนที่ของโน้ต และมีการใช้เพเดิลเพิ่มเติมในท่อนที่ 1 และ 3 บริเวณที่โน้ตกำกับให้เล่นเสียงดัง ส่วนท่อนที่ 2 ใช้เพิ่มเติมตลอดทั้งท่อนเพื่อต้องการเชื่อมเสียงทั้งแนวทานองและเสียงประสาน สำหรับแนวทางการฝึกซ้อมได้แบ่งเป็น 8 เทคนิคตามที่พบในบทเพลง ได้แก่ โน้ตอาร์เปโจซ้อมแบบคอร์ดแท่งจากนั้นจึงเล่นตามโน้ตจริง โน้ตประดับควรเลือกใช้นิ้วที่แข็งแรงและซ้อมแยกเฉพาะส่วนโน้ตประดับ การเล่นข้ามมือซ้อมแยกเฉพาะมือที่เล่นเทคนิคนี้ ให้ความสำคัญกับการซ้อมไล่บันไดเสียงด้วยการควบคุมลักษณะเสียงแบบต่างๆ นำแบบฝึกหัดจากแฮนนอนมาใช้เพื่อฝึกซ้อมการเล่นโน้ตขั้นคู่สามต่อเนื่อง สำหรับแนวทำนอง 2 แนวในมือเดียวกันจะจดจำเสียงแนวทำนองสำคัญก่อน จากนั้นจึงซ้อมทั้ง 2 แนวร่วมกันโดยถ่ายน้ำหนักข้อมือไปทางแนวทำนองสำคัญนั้น สุดท้ายการเล่นเสียงดังใช้น้ำหนักจากแขนและโน้มตัวเข้าหาเปียโน | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | เปียโน -- การฝึก | en_US |
dc.subject | เพลงบรรเลงเปียโน | en_US |
dc.title | การตีความและการฝึกซ้อมในบทเพลงโซนาตาหมายเลข 14 ในกุญแจเสียงซีไมเนอร์ เค. 457 ประพันธ์โดยโมสาร์ท | en_US |
dc.title.alternative | Sonata no. 14 in c minor, k. 457 by Mozart: interpretation and practice strategies | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The objectives of the thesis, Sonata No.14 in C minor, K. 457 by Mozart: Interpretation and Practice strategies, are to interpret and analyze performance technique, and to present performance practice. Moreover, the scope of the study includes interpretation and analysis covering 6 performance techniques: melodic presentation, ornament, fingering, dynamics, articulation, and pedaling. Based the study of performance techniques, the researcher focuses on playing melodic lines clearly. Ornaments are mostly changed on the fingerings differently from the original edition. Furthermore, the fingerings, in the other places, are changed. The researcher uses dynamics differently from the original edition in some bars playing decrescendo and crescendo according to the direction of the notes. In the 1st and the 3rd movement, pedaling is added where the notes indicate loud play, while in 2nd movement, pedaling is added throughout to connect the sounds of melodic and harmonic lines. The section on performance practice is divided into 8 techniques found in this piece: Arpeggios, practicing as block chord initially and then subsequently playing as written; Ornament, playing with the strong fingers and practicing only the ornament part; Hand-crossing, practicing with one hand playing this technique; Scales, focusing on practicing with different articulations; Playing continual 3rd intervals, practicing with an exercise from Hannon; 2 melodic lines with a single hand, memorizing the important melodic part first and later practicing both melodic lines utilizing extra wrist force on important melodic lines; and finally playing forte, utilizing extra arms force and leaning the body toward the piano. | en_US |
dc.description.degree-name | ดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | ดุริยางคศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | Ms-Music-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
WANANONG CHANON.pdf | 2.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.