Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2076
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประสาน ตั้งยืนยงวัฒนา-
dc.contributor.authorรติรัตน์ ทรัพย์เอนก-
dc.date.accessioned2023-11-02T10:19:08Z-
dc.date.available2023-11-02T10:19:08Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2076-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การแพทย์แผนตะวันออก)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565en_US
dc.description.abstractการจัดทำคลินิกพอกเข่าในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อ ตาโล่ อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานจัดให้มีคลินิก ที่มีการให้บริการแพทย์แผน ไทยและการแพทย์ทางเลือกแบบครบวงจร ปี งบประมาณ 2564-2565 การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็ น การศึกษาแบบ กึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลของยาสมุนไพรพอกเข่าตำรับ ที่ใช้ในวิทยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศรกับยาทาแก้อักเสบไดโคลฟีแนค (Diclofenac) ในการ รักษาโรคข้อเข่าเสื่อม จำนวน 50 คน ด้วยวิธีการศึกษาแบบสุ่ม ไม่ปกปิดทุกฝ่ายและควบคุมด้วย การรักษามาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่าการพอกเข่าด้วยยาสมุนไพรพอกเข่าตำรับที่ใช้ในวิทยาลัย การแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศรมีประสิทธิผลเทียบเท่ากับยาทาแก้อักเสบไดโคลฟีแนค โดยมี ค่าเฉลี่ยประสิทธิผล 42.24 และ 39.84 ตามลำดับ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ p > 0.05 และเมื่อ เปรียบเทียบคะแนนความเจ็บปวดก่อนและหลังการพอกเข่าทั้งสองกลุ่มทดลองลดลง กลุ่มที่ใช้ยา ทาแก้อักเสบไดโคลฟี แนคมีค่าเฉลี่ยประสิทธิผลหลังการรักษาในแต่ละครั้งอยู่ที่ 3.64, 2.88, 2.16 และ 1.48 ตามลำดับ และคะแนนความเจ็บปวดของกลุ่มที่พอกเข่าด้วยยาสมุนไพรพอกเข่าตำรับที่ ใช้ในวิทยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศรมีค่าเฉลี่ยประสิทธิผลหลังการรักษาในแต่ละครั้งที่ 1.96, 0.96, 0.60 และ 0.20 ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ p < 0.05 ดังนั้นสามารถนำยา สมุนไพรพอกเข่าตำรับที่ใช้ในวิทยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศรมาใช้แทนยาทาแก้อักเสบได โคลฟี แนคได้ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมให้ผู้ป่ วยเข้ารับบริการรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก นอกจากนี้ยังสามารถนำไปต่อยอดเพื่อพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ต่อไปได้en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectโรคข้อเข่าเสื่อมen_US
dc.subjectยาสมุนไพร -- ตำรับ -- วิจัยen_US
dc.subjectข้อเข่า -- โรค -- การรักษาen_US
dc.titleการศึกษาประสิทธิผลของยาสมุนไพรพอกเข่าตำรับที่ใช้ในวิทยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร ในการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อตาโล่ อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา : การศึกษาแบบสุ่มไม่ปกปิดทุกฝ่ายและควบคุมด้วยการรักษามาตรฐานen_US
dc.title.alternativeEfficacy study of Abhaibhubejhr College of traditional medicine Thai herbal poultice in osteoarthritis at Botalo Sub-Distict Health Promotion Hospital, Phra Nnakhon Si Ayutthaya: a randomized open label and standard treatment controlled trialen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe establishment of a knee mask clinic for osteoarthritis patients in Botalo Sub−district Health Promotion Hospital, Phra Nakhon Si Ayutthaya is a health service development plan (service plan) in the field of Thai traditional medicine and intesrated medicine which provides a clinic with comprehensive provision of Thai traditional and alternative medicine services, in fiscal year 2021-2022. This research study is a quasi−experimental study with purpose to compare the efficacy of the traditional herbal knee mask used in Abhaibhubejhr College of Thai Traditional Medicine with the anti-inflammatory drug Diclofenac in the treatment of knee osteoarthritis of 50 patients, using a randomized, non-masked, controlled trial with standard treatment. The results revealed that the knee wrap with traditional herbal knee wraps used in Abhaibhubejhr College of Thai Traditional Medicine has no significant difference in efficacy compared to diclofenac topical anti−inflammatory drug at p > 0.05, and when comparing pain scores before and after the knee wraps in both experimental groups, there was a decrease. The means of efficacy of diclofenac topical group after treatment were 3.64, 2.88, 2.16 and 1.48, respectively. The mean efficacy scores for the knee-mask group with traditional herbal knee-mask used in Abhaibhubejhr College of Thai Traditional Medicine after treatment were 1.96, 0.96, 0.60 and 0.20, respectively, which differed significantly at p < 0.05. Therefore, the herbal knee mask formula used in Abhaibhubejhr College of Thai Traditional Medicine could be used instead of diclofenac topical anti-inflammatory drug It also encourages patients to receive treatment in Thai traditional medicine and alternative medicine. This could be used for further development to the product formen_US
dc.description.degree-nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการแพทย์แผนตะวันออกen_US
Appears in Collections:Ort-OM-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RATIRAT SAP-A-NEK.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.