Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2087
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อภิชัย พันธเสน | - |
dc.contributor.author | สาคร สมเสริฐ | - |
dc.date.accessioned | 2023-11-13T07:36:04Z | - |
dc.date.available | 2023-11-13T07:36:04Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2087 | - |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (ผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางการ ยกระดับความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของอบต.เกาะเกร็ด จ.นนทบุรี ด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บ รวบรวมข้อมูลจากการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และการสังเกต ศึกษากลุ่ม ตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 36 คน ประกอบด้วย ผู้บริหาร ข้าราชการส่วนท้องถิ่น และพนักงานจ้าง ของ อบต. ผู้นำชุมชน ปราชญ์ชุมชน และสมาชิกชุมชน มีทั้งการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิง ปริมาณเพื่อสะท้อนผลเชิงคุณภาพตามกรอบการวิเคราะห์เศรษฐกิจพอเพียงเชิงระบบ ตรวจสอบ ข้อมูลด้วยวิธีการสามเส้า และนำเสนอด้วยการเรียบเรียงเชิงพรรณนา ผลการศึกษา พบว่า ระดับความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงของ อบต.เกาะเกร็ด คือ ระดับ “เข้าใจ” หรือการเป็ นองค์กรแห่งความสุข โดยได้คะแนนประเมินตัวชี้วัดหลัก 12 ตัวชี้วัด 251 คะแนน จากคะแนนเต็ม 300 และแนวทางการยกระดับความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง คือ การมุ่งสู่การ เป็นองค์กรแห่งประโยชน์สุขด้วยการดำเนินงานตามเกณฑ์ตัวชี้วัดของความเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ระดับ “เข้าถึง” โดยเน้นประเด็นตัวชี้วัดที่ได้คะแนนประเมินน้อยกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ได้แก่ ตัวชี้วัด ที่ 10.1, 10.3, 11.1, 12.1 และ 12.2 ซึ่งครอบคลุมประเด็น การจัดการศึกษาและแหล่งเรียนรู้เชิง วัฒนธรรม การจัดการขยะในระดับที่สูงขึ้น การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อม และ ปัญหาสังคม ด้วยการทำให้ประชาชนมีส่วนร่วมในงานพัฒนาที่ประชาชนตระหนักถึงประโยชน์ที่ ตนได้รับและเป็นสิ่งที่กระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนโดยตรง โดยอาศัยภาวะผู้นำของ นายก อบต.ที่สามารถประสานความร่วมมือได้กับทุกฝ่าย และเครือข่ายผู้นำอย่างไม่เป็นทางการ ภายในชุมชนเป็นกลไกสำคัญ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง -- นนทบุรี | en_US |
dc.subject | เศรษฐกิจพอเพียง -- แง่ปรัชญา | en_US |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหาร -- ไทย -- นนทบุรี -- การมีส่วนร่วมของประชาชน; | en_US |
dc.title | การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี | en_US |
dc.title.alternative | การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This research aimed to explore the level of Sufficiency Economy and approaches for upgrading the level of Sufficiency Economy in Ko Kret Subdistrict Administrative Organization, Nonthaburi Province. The research employed qualitative methodology, collecting data from related documents, interviews, focus group discussion, and the author’s observations. Thirty-six samples obtained through purposive sampling were administrators, government officers, and employees of Ko Kret Subdistrict Administrative Organization, community leaders, local scholars, and community members. Qualitative and quantitative data were analyzed using the framework of the systematic analysis of Sufficiency Economy, and twelve indicators were applied to evaluate the level of Sufficiency Economy of the organization. Data triangulation was conducted to verify the findings and results were presented descriptively. The results revealed that the level of Sufficiency Economy in Ko Kret Subdistrict Administrative Organization was at the “comprehension level” implying that the organization operated under the promotion of happiness in the workplace. As a result, the organization earned a score of 251 out of 300. The approach for upgrading the level of Sufficiency Economy of the organization was to meet all indicators required for being a happy organization and to improve the scores in the indicators 10.1, 10.3, 11.1, 12.1, and 12.2 covering the management of education and cultural learning resources, advanced waste management, the development of natural resources and environment, and the resolution of social problems. The research also recommended the enhancement of public participation by raising the public awareness of what directly affects their living. The Chief Executive of Ko Kret Subdistrict Administrative Organization was recommended to encourage more participations among all sectors involved including all informal networks in the community. | en_US |
dc.description.degree-name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | ผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง | en_US |
Appears in Collections: | CSI-LSBP-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SAKORN SOMSERT.pdf | 5.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.