Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2101
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สังศิต พิริยะรังสรรค์ | - |
dc.contributor.author | สุกษม สุขเกษม, พลอากาศเอก | - |
dc.date.accessioned | 2023-11-18T04:48:28Z | - |
dc.date.available | 2023-11-18T04:48:28Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2101 | - |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (ผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ในการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษา สถานการณ์ปัญหาและการแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำในการทำเกษตรกรรมในประเทศไทยจาก อดีตสู่ปัจจุบัน 2) เพื่อศึกษาการจัดการแหล่งน้ำขนาดเล็ก ด้วยนวัตกรรมฝายแกนดินซีแมนต์ 3) เพื่อ ศึกษาความสัมพันธ์เชิงอำนาจด้านการจัดทำฝายแกนดินซีเมนต์ระหว่างสมาชิกในชุมชน ระหว่าง ชุมชน และภาครัฐกับชุมชน และ 4) เพื่อศึกษาผลลัพธ์จากการทำฝายแกนดินซีเมนต์กับการลด ปัญหาความยากจนของชุมชน โดยเก็บข้อมูลจากการค้นคว้าเอกสาร บทความ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และเก็บข้อมูลจากการศึกษาภาคสนาม ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่มและการสังเกต แบบมีส่วนร่วม ผลการวิจัยพบว่า สถานการณ์การขาดแคลนน้ำและภัยแล้ง มีสาเหตุมาจากฝนไม่ตกตาม ฤดูกาลและเกิดสภาวะฝนทิ้งช่วงที่ติดต่อยาวนาน รวมทั้งระบบนิเวศของลุ่มน้ำที่เปลี่ยนแปลงไป สำหรับการจัดการแหล่งน้ำขนาดเล็ก ด้วยนวัตกรรมฝายแกนดินซีเมนต์ พบว่า สามารถชะลอ หน่วง น้ำและกักเก็บน้ำได้ดี ทำให้ชุมชนมีน้ำใช้ตลอดทั้งปี นอกจากนี้ยังพบว่า ความสำเร็จในการจัดการ เกิดจากความสัมพันธ์เชิงอำนาจในเชิงบวกระหว่างสมาชิกในชุมชน ระหว่างชุมชน และภาครัฐกับ ชุมชน ที่เกิดขึ้นในทุกระดับ สุดท้ายพบว่า นวัตกรรมนี้ เป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยลดปัญหาความยากจน ให้กับชุมชน ซึ่งนำไปสู่คำแนะนำเชิงนโยบายในการทำซ้ำในพื้นที่อื่นต่อไป | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | นวัตกรรมสังคม | en_US |
dc.subject | ฝาย -- แง่เศรษฐกิจ -- ไทย | en_US |
dc.subject | ความยากจน -- ไทย | en_US |
dc.title | ฝายแกนดินซีเมนต์ : นวัตกรรมสังคม เพื่อลดปัญหาความยากจน | en_US |
dc.title.alternative | Soil-cement core weir: social innovation for reducing poverty problems | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The objectives of this qualitative research were 1) to study the situations and solutions of water scarcity problems in agriculture in Thailand from past to present; 2) to study the management of small water resources with an innovation of soil-cement core weir; 3) to study the power relations between the community members, the communities, and the government in construction and management of the soil-cement core weir; and 4) to study the impacts of the innovation in poverty reduction. The study was conducted through literature review, collecting the data from relevant sources, including field studies with the communities, focus group and participatory observation. The results revealed that inconsistency of rainfalls, long drought period including the change of ecosystems were the main causes of water shortage. Soil-cement core weir helped to slow down and retain water, making it available whole year round for agricultural activities in the two studied communities. Moreover, it was discovered that positive power relations among community members, the communities and government were key for successful management. The innovation has contributed to poverty reduction and improvement of life quality of people in the communities, leading to policy recommendations for possible replication | en_US |
dc.description.degree-name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | ผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง | en_US |
Appears in Collections: | CSI-LSBP-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
AIR CHIEF MARSHAL SUKSOM SUKASAM.pdf | 7.82 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.