Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2118
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กฤษณพงค์ พูตระกูล | - |
dc.contributor.author | เกรียงศักดิ์ พิมสุก | - |
dc.date.accessioned | 2023-12-12T02:12:06Z | - |
dc.date.available | 2023-12-12T02:12:06Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2118 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (อาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม)) มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยแบบผสมผสานนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการกระทำความผิดซ้าของผู้ต้องขังคดียาเสพติด และเพื่อเสนอแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกระทำผิดซ้าของผู้ต้องขังคดียาเสพติดในเรือนจำอำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ประชากรกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ต้องขังที่กระทำผิดซ้าคดียาเสพติด จำนวน 206 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การทดสอบ t-test และ F-test (One Way ANOVA) และการสัมภาษณ์เชิงลึกวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับปัจจัยที่ส่งผลต่อการกระทำความผิดซ้าของผู้ต้องขังคดียาเสพติดในเรือนจำอำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านความสัมพันธ์ในครอบครัว การคบหาสมาคมกลุ่มเพื่อน และด้านสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย 2) ปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อการกระทำความผิดซ้าของผู้ต้องขังคดียาเสพติดในเรือนจำ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้แก่ ความสัมพันธ์ในครอบครัว การคบหาสมาคมกลุ่มเพื่อน และสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย ไม่ส่งผลต่อการกระทำผิดซ้าของผู้ต้องขังในเรือนจำอำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3) การวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า มีค่านิยมในการมองเห็นเรื่องการจำหน่ายยาเสพติดทำให้มีเงินเพิ่มมากขึ้น เกิดทัศนคติต่อการจำหน่ายยาเสพติดว่าเป็นอาชีพที่สร้างรายได้ สร้างความสุขให้กับตนเอง และหลังจากที่พ้นโทษออกมาจากเรือนจำ ถูกดูถูกเหยียดหยามจากคนรอบข้างว่าเป็นคนขี้คุก ข้อเสนอแนะของการวิจัยนี้คือ สังคมควรเปิดโอกาสให้แก่ผู้ที่เคยถูกต้องโทษจาคุกได้กลับเข้าทางานได้อย่างปกติในสังคม ผู้นาชุมชนควรเข้าถึงลูกบ้านเพื่อรับรู้ถึงสภาพความเป็นอยู่แต่ละครอบครัวเพื่อสามารถช่วยเหลือหรือแก้ไขปัญหาได้ถูกต้อง | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | นักโทษ -- การกระทำความผิด | en_US |
dc.subject | การกระทำผิดซ้ำ -- ไทย -- เพชรบูรณ์ | en_US |
dc.subject | ผู้ต้องขัง -- เพรชบูรณ์ | en_US |
dc.subject | คดียาเสพติด | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อการกระทำความผิดซ้ำของผู้ต้องขังคดียาเสพติดในเรือนจำ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ | en_US |
dc.title.alternative | Factors affecting repeat offenses of the drug inmates in Lom Sak District, Phetchabun Province Prison | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The aims of this mixed method research were to illustrate factors affecting the repeat drug-offenses of the inmates and to provide the guideline on prevention and solution for the repeat drug-offenses problem of the inmates in the Lom Sak District, Petchabun Province Prison. 206 participants were selected as the sample size, and the questionnaire was contributed as an instrument for data collection. This methodology was applied to an analysis of percentage, mean, t-test and F-test analysis (One Way ANOVA). Simultaneously, the qualitative methodology was designed using in-depth interview as a content analysis. The results revealed as the followings: 1) Overall, level of factors affecting repeat drug-offenses of the inmates were at moderate degree of family relationships, fellowships and residential environments. 2) Personal factors affecting on repeat drug-offenses of the inmates consisting of family relationships, fellowships and residential environments did not dramatically affect those inmates’ repeat drug-offenses at the statistical significance level. 3) According to the qualitative data, there was an increase of the value on drug distribution due to earning more money; the attitude of drug distribution that generated more income and step-up of well-being occurred; those who were released from prison were insulted by those around them as being a prisoner. In terms of the guideline, there should be the requirements of social acceptance after a person who was imprisoned returns to work as ordinary people; moreover, community leaders should approach their villagers to perceive living conditions of each household to assist or implement appropriate solutions. | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | อาชญาวิทยาและ การบริหารงานยุติธรรม | en_US |
Appears in Collections: | CJA-CJA-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
KREANGSAK PIMSUK.pdf | 1.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.