Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2121
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจอมเดช ตรีเมฆ-
dc.contributor.authorอรอุษา พรมอ๊อด-
dc.date.accessioned2023-12-12T02:43:20Z-
dc.date.available2023-12-12T02:43:20Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2121-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (อาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม)) มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565en_US
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้เป็นเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคในการเก็บรวบรวมพยานหลักฐานในพื้นที่เกิดเหตุคดีอาชญากรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่ห่างไกล และ 2) เพื่อเสนอแนะแนวทางในการเก็บรวบรวมพยานหลักฐานคดีอาชญากรรมที่เกิดในพื้นที่ห่างไกล โดยศึกษาทบทวนแนวคิด ทฤษฎี วรรณกรรม เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผู้ให้ข้อมูลคนสาคัญ 9 คนแบ่งเป็นผู้ปฏิบัติงาน ผู้ดำเนินนโยบาย บุคลากรนิติเวชวิทยาและผู้เชี่ยวชาญ และผู้ให้ข้อมูลที่เป็นประจักษ์พยานในที่เกิดเหตุ ร่วมกับการศึกษาข้อมูลที่เผยแพร่ต่อสื่อสาธารณะ ผลการศึกษาพบว่า ไทยมีมาตรฐานการเก็บรวบรวมพยานหลักฐานคดีอาญา และมีมาตรฐานปฏิบัติสากลคือ พิธีสารมินนิโซตา แต่ในทางปฏิบัติกรณีการเสียชีวิตของน้องชมพู่ ไม่สามารถปฏิบัติตามมาตรฐานได้ทั้งหมด เนื่องจากพื้นที่เขาภูเหล็กไฟจุดพบศพ เป็นภูเขาที่เดินทางเข้าถึงยาก ห่างไกลจากสานักงาน ประกอบกับกาลังเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ ขาดองค์ความรู้ ขาดอุปกรณ์ ไม่มีแพทย์นิติเวช มีประชาชน ผู้สื่อข่าว เข้าถึงพื้นที่ก่อนพนักงานสอบสวน ทำให้ไม่สามารถควบคุมพื้นที่ได้ กฎหมายที่ใช้ใน การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบไม่มีความชัดเจน รวมถึงไม่มีมาตรฐานการปฏิบัติงานของแต่ละแผนก จากการศึกษานามาสู่ข้อเสนอแนะคือ ควรเพิ่มกำลังเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในพื้นที่ห่างไกล ควรจัดอบรมการสืบสวนสอบสวนคดีที่มีความซับซ้อน ควรจัดให้มีเจ้าหน้าที่พิสูจน์หลักฐานในการตรวจสถานที่เกิดเหตุประจาสถานีตำรวจ ควรจัดคู่มือปฏิบัติงาน ควรจัดให้มีการอบรมสร้างความเข้าใจในการการเข้าถึงพื้นที่เกิดเหตุแก่ประชาชน และออกกฎหมายเพื่อให้มีหน่วยงานรับผิดชอบโดยตรงen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectพนักงานสอบสวน -- วิจัยen_US
dc.subjectพยานหลักฐานในคดีอาญา -- ไทย -- มุกดาหารen_US
dc.subjectพยานหลักฐาน -- ระบบจัดเก็บen_US
dc.titleการศึกษามาตรฐานการจัดการการเก็บรวบรวมพยานหลักฐานในพื้นที่เกิดเหตุคดีอาญาในพื้นที่ห่างไกลen_US
dc.title.alternativeStandardized evidence collection procedures in crime scenes in remote area: a case study of ‘Chomphu’ murder case in Mukdahan Province,en_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research aimed 1) to investigate problems and obstacles in standardized evidence collection procedures in crime scenes in remote area and 2) to propose an evidence collection standard for the resolution of those problems. This research was conducted using qualitative methodology, reviewing related theories, literature, and research. Data were collected through in-depth interviews with nine informants who were operation officers, policy makers, forensic officers and experts, and witnesses. Data were also obtained from information delivered to the public. The result revealed that Thailand had its own standardized evidence collection procedures for criminal cases and implemented the Minnesota Protocol on the Investigation of Potentially Unlawful Death, a set of international guidelines for the investigation of suspicious deaths. However, in the murder case of ‘Chomphu,’ it was difficult to fully comply with those standards since the crime scene was on Phu Lek Fai Mountain, located in a hardly accessible, remote area. More problems including insufficient forensic officers and doctors, lack of bodies of knowledge and equipment, disturbed evidence (by media agents and people who entered the crime scene before investigation officers), unclear law determining roles and duties, and each related departments’ lack of standardized practices. The research recommended the increase of specialized officers, the enhancement of investigation officers’ knowledge through training on investigation in complex cases, the assignment of forensic officers to be positioned at police stations, the production of operation manual, the enhancement of public understanding of the significance of the security of crime scenes, and the enforcement of law that determines roles and duties of each responsible department.en_US
dc.description.degree-nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineอาชญาวิทยาและ การบริหารงานยุติธรรมen_US
Appears in Collections:CJA-CJA-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ONUSA PROMAOD.pdf1.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.