Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2126
Title: รูปแบบการเรียนการสอน เฟรนช์ฮอร์นในหัวข้อ บันไดเสียงเมเจอร์โดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ของกานเย : การศึกษา
Other Titles: Teaching and learning model for french horn on scale major using gagné’s learning theory : a case study
Authors: นนทกร มีแสง
metadata.dc.contributor.advisor: นิภาพร สกุลวงศ์
Keywords: การเรียนการสอน -- ดนตรี;ดนตรี -- การเรียนการสอน;เครื่องดนตรี -- การศึกษาและการสอน
Issue Date: 2565
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธ์ิของการเล่นเฟรนช์ฮอร์นในหัวข้อ บันไดเสียง เมเจอร์โดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ของกานเย 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการ เรียนการสอนตามรูปแบบของกานเย กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนที่เป็นสมาชิกในวงโยธวาทิตในโรงเรียน รัฐบาลขนาดใหญ่ในเขตนนทบุรีในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น-ปลายจา นวน 4 คน เพศชาย 2 คน และเพศหญิง 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการสอน ในรูปแบบการเรียนการสอนเฟรนช์ ฮอร์นในหัวข้อ บันไดเสียงเมเจอร์ โดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ของกานเย จา นวน 8 แผน 8 คาบ คาบละ 75 นาที เป็นเวลาทั้งสิ้น 10 ชั่วโมง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนใช้สาหรับการประเมินทักษะ ก่อนและหลังการใช้แผนการสอน แบ่งเป็น 2 ชุด แบบบันทึกพัฒนาการและพฤติกรรมหรือปัญหาของ ผู้เรียนหลังการสอนในทุก ๆ ชั่วโมงของการสอน แบบสอบถามความพึงพอใจสาหรับนักเรียน 1 ชุด การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ในการเปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังการใช้แผนการสอนโดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel และวิเคราะห์ข้อมูลสถิติแบบนอนพาราเมตริก (Nonprrametic Statistics) Wilcoxon Signed Rank Test ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิหลังเรียน ( =47.25, S.D.=3.59) สูงกว่าก่อนเรียน ( = 17.50, S.D.=1.29) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .068 2) นักเรียนมีความพึงพอใจมากต่อการ จัดการเรียนการสอนในรูปแบบการเรียนการสอน เฟรนช์ฮอร์นในหัวข้อ บันไดเสียงเมเจอร์ โดยใช้ ทฤษฎี การเรียนรู้ของกานเยในหัวข้อเรื่อง “เนื้อหาการสอนสามารถนาไปใช้กับบทเพลงได้จริง, บรรยากาศในชั้นเรียนมีความเป็นกันเอง, ครูผู้สอนว่ากล่าวตักเตือนโดยใช้คา สุภาพ, ครูผู้สอนดูแล นักเรียนได้อย่างทั่วถึง, สามารถนา สิ่งที่เรียนไปใช้ในชีวิตประจา วันได้” ( = 5, S.D. = 0.00) โดยรวม พบว่านักเรียนมีความพึงพอใจระดับมากต่อการจัดรูปแบบการเรียนการสอนเฟรนช์ฮอร์นในหัวข้อ บันไดเสียงเมเจอร์โดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ของกานเย ( = 4.47, S.D.=0.45)
metadata.dc.description.other-abstract: The research investigated the students’ French horn learning outcomes and the satisfaction by using Gagne's teaching method. The participants in this research were the members of school marching band of a secondary school in Nonthaburi province including four students, two men and two women. The research instruments included 8 lesson plans, pre-test and post-test, and satisfaction questionnaire. Each of eight lesson plans on major scale was designed for 75-minute lesson, ten hours in total. In each lesson, the students took pre-test and post-test on their learning progression and responded to the questionnaire on the satisfaction towards the lessons. The data were analyzed using Microsoft Excel and nonparametric statistic analysis method called Wilcoxon Signed Rank Test. The results showed that the participants' learning outcome after the intervention ( x = 47.25) was higher than the one before it ( x = 17.50), with a level of significance of .68. The participants commented that they were able to apply what they learned into practice and into other parts of their life, felt comfortable in class, and the instructor gave feedback politely. To conclude, the participants were satisfied with Gagne's teaching method ( x = 4.47 and S.D. = 0.45), and this should be recommended for other music classes.
Description: วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565
metadata.dc.description.degree-name: ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: หลักสูตรและการสอน
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2126
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:EDU-CI-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NONTHAKON MEESANG.pdf1.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.