Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2127
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา จันทร์ประเสริฐ-
dc.contributor.authorสมสกุล เทพประทุน-
dc.date.accessioned2023-12-12T06:31:10Z-
dc.date.available2023-12-12T06:31:10Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2127-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาผลการพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้ สื่อประสมในการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังโดยใช้สื่อประสมในการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการใช้สื่อประสมในการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ แหล่งข้อมูลของการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแห่งหนึ่งในอาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี จำนวน 1 ห้องเรียน โดยการสุ่มแบบยกกลุ่ม (Cluster Random Sampling) ซึ่งนักเรียนทั้งหมดมีความสามารถด้านภาษาอังกฤษแบบคละความสามารถ จำนวน 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ประเภท คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสมในการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ 2) แบบวัดทักษะการฟังภาษาอังกฤษ และ 3) แบบสารวจความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการใช้สื่อประสมในการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลตามความมุ่งหมายของการวิจัย ประการที่ 1 และ 2 ใช้การทดสอบค่า t แบบกลุ่มตัวอย่างสัมพันธ์กัน (t – test for Dependent Samples) ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลตามความมุ่งหมายของการวิจัยประการที่ 3 ใช้การหาค่าเฉลี่ย ( ̅) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลการพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สื่อประสมในการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ มีการพัฒนาสูงขึ้น โดยมีเกณฑ์ค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการฟังภาษาอังกฤษมากกว่าร้อยละ 60 2) ผลการเปรียบเทียบทักษะการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสมในการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ค่าเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ผลความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการใช้สื่อประสมในการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectทักษะการฟัง -- ภาษาอังกฤษen_US
dc.subjectสื่อประen_US
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การฟัง -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)en_US
dc.titleการพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สื่อประสมในการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือen_US
dc.title.alternativeDevelopment of primary level 4 student’s listening skills using multimedia and cooperative learningen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research aimed to 1) to assess the listening learning outcomes of students using multimedia and cooperative learning, 2) compare the learning outcomes before and after using multimedia and cooperative learning, and 3) explore their satisfaction towards the use of multimedia and cooperative learning. The population was primary level 4 students studying in the second semester of the academic year 2020, at a school in Ban Pong District, Ratchaburi Province. The samples were a class of 22 primary level 4 students, the number of which was obtained through cluster random sampling. The instruments were 1) a learning management plan incorporated with multimedia and cooperative learning, 2) an English listening test, and 3) a questionnaire to collect data about students’ satisfaction towards the use of multimedia and cooperative learning. To meet objective 1 and 2, t-test was employed to analyze data, and data about students’ satisfaction (objective 3) were analyzed using mean and standard deviation. The result revealed that 1) students’ learning outcomes were higher with an average score of higher than 60%. 2) According to the result of the comparative study, the listening learning outcomes after learning though the use of multimedia and cooperative learning were higher with a significance level of .05. 3) Students’ satisfaction towards the use of multimedia and cooperative learning was high.en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineหลักสูตรและการสอนen_US
Appears in Collections:EDU-CI-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SOMSAKUL THEPPRATHOON.pdf4.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.