Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2194
Title: | แนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขนาดเล็กตามแนวคิดสะตีมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 |
Other Titles: | Approaches for academic management development in small school on the concept of steam education under Phetchabun Primary School Educational Service Area Office 3 |
Authors: | วรัชญา ขวัญแก้ว |
metadata.dc.contributor.advisor: | ชัชชญา พีระธรณิศร์ |
Keywords: | โรงเรียน -- การบริหาร -- เพชรบูรณ์;ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ;การจัดการเรียนรู้;งานวิชาการ -- การบริหาร |
Issue Date: | 2565 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ ความต้องการจำเป็น และเสนอแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขนาดเล็กตามแนวคิด สะตีมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยแบบเชิงบรรยาย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารโรงเรียน และ ข้าราชการครู จำนวน 269 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพจากผู้บริหารการศึกษา และผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง โดยวิเคราะห์เนื้อหา และหาดัชนีความต้องการจำเป็น (PNI modified ) ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ ของการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขนาดเล็กตามแนวคิดสะตีมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์เขต 3 รวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และความต้องการจำเป็นที่สุด คือ การจัดการเรียนการสอน (2) แนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขนาดเล็กตามแนวคิดสะตีมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 คือ การจัดการเรียนรู้ที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน , จัดการเรียนรู้ที่ใช้โครงงานเป็นฐาน โดยใช้ศิลปะรูปแบบต่าง ๆ บูรณาการกับวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ คณิตศาสตร์ และสอดแทรกทักษะของศตวรรษที่ 21 |
metadata.dc.description.other-abstract: | The purposes of this study are 1) to investigate the current conditions, desirable conditions, and needs as well as 2) to propose a guideline for the academic management development of a small-sized school under the Office of Phetchabun Primary Educational Service Area 3 based upon the concept of STEAM Education. This study employed descriptive research methods. Data were collected from 269 samples who were school administrators and teachers using 5-point Likert scale questionnaires. The statistics used in the analysis included frequency, percentage, mean, and standard deviation. In addition, the qualitative data were collected from five school administrators and teachers through a semi-structured interview. The collected data were analyzed to identify the Priority Needs Index (PNI modified). The findings showed that the current conditions and desirable conditions of the academic management of a small-sized school under the Office of Phetchabun Primary Educational Service Area 3 based upon the concept of STEAM Education in four aspects were at high level with the highest mean. In addition, the most necessary need for administrators and teachers was teaching and learning management. In addition, the guideline for the academic management development of the small-sized school included the implementation of the problembased learning and project-based learning with the integration of various art forms with other subjects such as science, engineering, mathematics, and 21st century skills. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565 |
metadata.dc.description.degree-name: | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต |
metadata.dc.description.degree-level: | ปริญญาโท |
metadata.dc.contributor.degree-discipline: | การบริหารการศึกษา |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2194 |
metadata.dc.type: | Thesis |
Appears in Collections: | EDU-EA-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
WARATCHAYA KHWANKEAW.pdf | 1.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.