Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2196
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชัชชญา พีระธรณิศร์ | - |
dc.contributor.author | สุทัศน์ ดาราวงศ์ | - |
dc.date.accessioned | 2024-02-21T06:51:52Z | - |
dc.date.available | 2024-02-21T06:51:52Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2196 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่คาดหวัง ความต้องการจำเป็นและเสนอแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยแบบเชิงบรรยาย (Descriptive Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ครู จำนวน 269 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพจากผู้บริหารระดับนโยบาย และผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-Structured Interview) โดยวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) และค่าดัชนี และวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นด้วยเทคนิค (PNIModified) ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบัน ของการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 โดยรวมทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยสูงสุดอยู่ในระดับปานกลาง สภาพพึงประสงค์มีค่าเฉลี่ยสูงสุดอยู่ในระดับมากและความต้องการจำเป็นสูงที่สุด คือ ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 2) แนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 คือ การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การส่งเสริมให้ครูจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ตามสาระและหน่วยการเรียนรู้ การจัดกระบวนการวิจัยการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาตามศักยภาพ ตามความสนใจ และความถนัดของผู้เรียน การมีส่วนร่วม การฝึกปฏิบัติจากประสบการณ์จริง การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | โรงเรียน -- การบริหาร -- เพชรบูรณ์ | en_US |
dc.subject | งานวิชาการ -- การบริหาร | en_US |
dc.title | แนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 | en_US |
dc.title.alternative | Guidelines for the development of academic administration in small schools under the office of Phetchabun Primary Educational Service Area 3 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This present study aims to investigate the current conditions, desirable conditions, and needs as well as to propose the guidelines for the development of academic administration of small schools under the Office of Phetchabun Primary Educational Service Area 3. This study employed descriptive research methods. Data were collected from 269 teachers using five-point scale questionnaires. The statistics used in the data analysis included frequency, percentage, mean, and standard deviation. In addition, this study also collected qualitative data from five executives using the semi-structured interview. The collected data were investigated based upon the content analysis and the needs index were assessed using PNI modified. The results of the study showed that in terms of the current conditions, the mean score for the academic administration of small schools under the Office of Phetchabun Primary Educational Service Area 3 in four aspects was at a medium level. The mean score for the desirable conditions was at a high level. In addition, the most necessary need is the development of learning process. In addition, the guidelines for the development of academic administration of small schools under the Office of Phetchabun Primary Educational Service Area 3 included the development of learning process, building lesson plans based upon the specified learning units, using research and activities to develop the proficiency, promoting participation, using learning by doing approach, and creating suitable learning environment. | en_US |
dc.description.degree-name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การบริหารการศึกษา | en_US |
Appears in Collections: | EDU-EA-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SUTHAT DARAWONG.pdf | 1.52 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.