Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2202
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัชชญา พีระธรณิศร์-
dc.contributor.authorณัฐธิดา ทิศาภาค-
dc.date.accessioned2024-02-21T07:20:46Z-
dc.date.available2024-02-21T07:20:46Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2202-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน ความคาดหวังที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1 และ 2) เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำ ดิจิทัล ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 โดยใช้ ระเบียบวิธีวิจัยแบบเชิงบรรยาย กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 144 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเครื่องมือ ที่ใช้สัมภาษณ์เป็นการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง จากผู้บริหารระดับนโยบาย ผู้บริหารโรงเรียน และศึกษานิเทศก์ จำนวน 5 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหาและการหาดัชนีความต้องการจำเป็นแบบ ปรับปรุง (PNI modified) ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการมีวิสัยทัศน์และทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และความต้องการ จำเป็นที่สุดคือ การมีวิสัยทัศน์และทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล มีค่าดัชนี (PNI modified= 0.076) 2) แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำ ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 คือ การกำหนดวิสัยทัศน์เพื่อส่งเสริมพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยี ดิจิทัล การส่งเสริมวัฒนธรรมการเรียนรู้ทางเทคโนโลยีดิจิทัล การสนับสนุนการนำ เทคโนโลยีดิจิทัล มาประยุกต์ใช้ในงาน การบริหารจัดการเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเป็นระบบ และการนำเทคโนโลยี ดิจิทัล พัฒนาการออกแบบการวัดและประเมินผลในการบริหารงานทั้ง 4 ฝ่ายen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectภาวะผู้นำen_US
dc.subjectผู้บริหารสถานศึกษา -- สุพรรณบุรีen_US
dc.subjectสถานศึกษา -- สุพรรณบุรีen_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1en_US
dc.title.alternativeGuidelines for the development of digital leadership of school administrators under The Office Of Suphanburi Primary Education Area 1en_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this study were 1) to study the current conditions, desirable expectations, and needs for digital leadership development of school administrators under the Office of Suphanburi Primary Educational Service Area 1 and 2) to propose guidelines for the development of digital leadership of school administrators under the Office of Suphanburi Primary Educational Service Area 1. This study employed a descriptive research approach. Data were collected from 144 samples who were educational institute administrators using a five-point scale questionnaire. The statistics used in the data analysis included frequency distribution, percentage, mean, and standard deviation. In addition, the semi-structured interviews were also conducted among 5 samples who were policy-level executives, school administrators, and education supervisors. Data were analyzed based upon the content analysis and finding the adjusted Priority Needs Index (PNI modified). The research findings showed that the current conditions and the overall desirable expectations of the samples were at a high level. The aspects with the highest mean were having vision and skills in digital technology. In addition, it was found that the highest needs were having vision and digital technology skills with an index value (PNI modified= 0.076). The guidelines for the development of the digital leadership development of school administrators included creating a school vision that supports the digital leadership development, supporting the use of digital technology in work, managing digital technology systematically, and using digital technology to improve the management measurement and evaluation of all four departments.en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการบริหารการศึกษาen_US
Appears in Collections:EDU-EA-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NATTIDA TISAPAK.pdf1.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.