Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2249
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorมุกดา โควหกุล-
dc.date.accessioned2024-03-19T05:58:14Z-
dc.date.available2024-03-19T05:58:14Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2249-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัย เรื่อง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา รายวิชา FIN 201 การเงินธุรกิจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลส่วนบุคคล และการจัดการเรียนการสอนของคณะบริหารธุรกิจทีมีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการเงินธุรกิจใน 5 ด้าน คือ ด้านความพร้อมของผู้เรียน, ด้านการเข้าเรียน, ด้านแรงจูงใจ, ด้านความรู้ที่ได้รับ และด้านผลการเรียน โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ทุกสาขาวิชา ในคณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี และคณะการจัดการ-การท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการบริการ มหาวิทยาลัยรังสิต ตั้งแต่ รหัสนักศึกษา 48 ถึงรหัสนักศึกษา 54 ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาการเงินธุรกิจ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จำนวนทั้งสิ้น 350 คน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณา และสถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า T-test, F-test และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างมากที่สุด คือ เพศหญิง นักศึกษาส่วนใหญ่เข้าเรียนปีการศึกษา 2554 และกำลังศึกษาอยู่คณะบริหารธุรกิจ มากที่สุด โดยนักศึกษาส่วนใหญ่ได้เกรดเฉลี่ยสะสมอยู่ระหว่าง 2.01 – 2.50 สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนรายวิชา FIN 201 การเงินธุรกิจ โดยภาพรวมนักศึกษาให้ความสำคัญกับปัจจัยทั้ง 5 ด้าน ในระดับ “มาก” โดยปัจจัยด้านที่นักศึกษาให้ความสำคัญมากที่สุด คือ ด้านผู้สอน รองลงมาได้แก่ ด้านการประเมินผลการเรียนการสอน และด้านการส่งเสริมการเรียนการสอน โดยจำแนกรายด้านย่อย 3 อันดับแรก คือ สอนเนื้อหาวิชาครบถ้วนตามแผนการสอน มีการวางแผนและเตรียมการสอนมาอย่างดี และมีการแจ้งหลักเกณฑ์ในการประเมินผลให้ผู้เรียนทราบก่อนเรียน รวมทั้งข้อสอบครอบคลุมเนื้อหาที่เรียน สำหรับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา FIN 201 การเงินธุรกิจของนักศึกษา พบว่า โดยภาพรวมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา FIN 201 การเงินธุรกิจ อยู่ในระดับ “มาก” และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่นักศึกษาให้ความสำคัญสูงสุดคือ มีการเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ รองลงมาคือ มีแรงจูงใจที่จะบรรลุเป้าหมายของการเรียน ส่วนข้อที่นักศึกษาให้ความสำคัญสูงสุดน้อยที่สุดคือ ผลการสอบกลางภาคดีขึ้น สำหรับผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลทุกด้านที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา FIN 201 การเงินธุรกิจที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และผลการวิเคราะห์การจัดการเรียนการสอน มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา FIN 201 การเงินธุรกิจ ในภาพรวม ในระดับปานกลาง (r = 0.595) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01en_US
dc.description.sponsorshipศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการเิงินธุรกิจ -- การศึกษาและการสอนen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- วิจัยen_US
dc.titleผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา รายวิชา FIN 201 การเงินธุรกิจen_US
dc.title.alternativeLearning Achievement of students in FIN 201 : Business Financeen_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this study were to investigate the demographic factors and the learning management relevant to the achievement of students in FIN 201: Business Finance in 5 dimensions : readiness of learners, class attendance, motivation, acknowledgement, and academic achievement. The study research instrument was questionnaires. The data was collected from 350 students in the Faculty of Business Administration, Accounting and Tourism and Hospitality Industry, at Rangsit University. The sampling group consist of students with code numbers between 45 entering in the year 2005 to 54 entering the year 2011, who enrolled the course FIN 201 in the first semester of 2012. The descriptive statistics were frequency, percentage, mean and standard deviation, and the inferential statistics; in particular the t-test, F-test and the Pearson Product Moment Correlation Coefficient were applied to analyze the data. The results of the study revealed that most of the subjects were, entered the university in 2011. They belonged to the Faculty of Business Administration, and an average accumu-lative grade between 2.01 – 2.50. From the study, the learning management of FIN 201 showed that the samples perceived the 5 dimensions in a “high level”. The dimension receiving the highest mean was lecturers; following was learning evaluation and learning activities. Following was the learning management issues identified from the highest level 3 dimensions: The lecturers had good knowledge followed by teaching plan, good preparation, and distributing the course descriptions to the students before attending class. For the learning achievement, the result of study implied “high level” of the student’s opinion and the following sub-items were evident: Faithful class attendance, motivation for class achievement, and earning high scores in mid-term examinations, at the lowest level. The inferential statistics showed that the demographic factors reveal statistical significance in every dimension at level 0.05. Also, the result of learning management suggested a correlation to the learning achievement at a “medium level” (r = 0.595) at the statistic significant level at 0.01en_US
Appears in Collections:BA-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
MUKDA KOWHAKUL.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.