Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2257
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุกัลยา วงศ์ชมบุญ-
dc.date.accessioned2024-03-20T07:41:29Z-
dc.date.available2024-03-20T07:41:29Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2257-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลของสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์รายวิชา THA 106 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร เรื่องการพูด และเพื่อสำรวจความพึงพอใจที่มีต่อการสอน e-Learning เรื่องการพูด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา THA 106 ภาษาไทย เพื่อการสื่อสาร ภาคการศึกษาที่ 2 ปี การศึกษา 2553 ที่อยู่ในกลุ่มเรียนที่ผู้วิจัยเป็นผู้สอน วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยค่าสถิติพื้นฐาน ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ คำนวณจากสูตร Kuder Richardson 21 และนำเสนอข้อมูลในรูปแบบตารางและการบรรยาย ผลการวิจัยพบว่า 1) ด้านประสิทธิผลของสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ นักศึกษามีคะแนน เฉลี่ยจากการทดสอบด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนเรื่องการพูด ไม่แตกต่างกันที่นัยสำคัญ 0.05 แต่เนื่องจากคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบด้วยแบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนมากกว่าคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบด้วยแบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียน แสดงให้เห็นว่า สื่อการสอนเรื่องการพูด ทำให้ผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนของนักศึกษาสูงขึ้น นั่นคือ สื่อการสอนเรื่องการพูดมีประสิทธิภาพ ด้วยความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ 2) ด้านความพึงพอใจที่มีการสอนด้วย e-Learning เรื่องการพูด พบว่า นักศึกษามีความ คิดเห็นด้านเนื้อหาในภาพรวมอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.32 ด้านการนำเสนอ ในภาพรวมอยู่ ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.34 ด้านการใช้ภาษาภาพรวมอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.33 และ ด้านสื่ออิเล็กทรอนิกส์มีภาพรวมอยู่ในระดับดี คือมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.19en_US
dc.description.sponsorshipศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยสอน -- วิจัยen_US
dc.subjectแบบเรียนสำเร็จรูป -- วิจัยen_US
dc.subjectภาษาไทย -- การศึกษาและการสอน -- วิจัยen_US
dc.subjectการพูด -- การศึกษาและการสอน -- วิจัยen_US
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ -- วิจัยen_US
dc.subjectสื่ออิเล็กทรอนิกส์ -- การศึกษาและการสอนen_US
dc.titleประสิทธิผลของสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์รายวิชา THA 106 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร เรื่องการพูดen_US
dc.title.alternativeThe effectiveness of the e-Learning Courseware Media for THA 106 : Thai Language for Communication on Speakingen_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractThe purposes of this research were 1) to evaluate the effectiveness of the e-Learning Courseware Media for THA 106 :Thai Language for Communication entited “The Effective Speaking” , and 2) to survey satisfaction toward e-Learning courseware on Speaking. The Sample group was students who studied Thai Language for Communication (THA 106) in term 2 of academic year 1210 at Rangsit University. The data was analyzed by using simple statistic to calculate the mean and standard deviation. The reliability of the test was calculate by using Kuder Richardson 21 The findings were concluded as follows : 1) Regarding the effectiveness of the e-Learning Courseware, Students did not score differently on the achievement tests for both pre and post tests at the significant level 0.05 Nevertheless, the average score for post-tests was higher than the average score for pre-tests which showed that the material used for teaching speaking was effective. It helped students to increase their achievement on learning with the level of confidence at 95 % 2) In terms of satisfaction towards e-Learning Courseware, it was found that average score for the content was at the level of 4.32 , the overall presentationwas good at the level of 4.34 , the usage of language was good at the level of 4.33 , and the e-Learning Courseware as a whole was good at the level of 4.19en_US
Appears in Collections:LiA-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SUKANLAYA WONGCHOMBOON.pdf3.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.