Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2290
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธนกร อยู่โต-
dc.contributor.authorจรูญรัตน์ ปริญญาคุปต์-
dc.contributor.authorนันทชัย ทองแป้น-
dc.date.accessioned2024-04-02T02:45:06Z-
dc.date.available2024-04-02T02:45:06Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2290-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งศึกษาการออกแบบและสร้างเครื่องโมนิเตอร์ข้างเตียงผู้ป่วยสำหรับใช้วัดอัตราการเต้นของหัวใจและอัตราการหายใจของผู้ป่วยในหอผู้ป่วยหนัก เครื่องนี้ถูกออกแบบการทำงานอยู่บนพื้นฐานของฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ การออกแบบส่วนของฮาร์ดแวร์ประกอบไปด้วยอีเล็คโตรด ทรานสดิวเซอร์ วงจรขยายสัญญาณแบบแยกส่วนทางไฟฟ้า กระบวนการจัดการทางด้านสัญญาณ ระบบการเชื่อมต่อทางสัญญาณ ใช้DAQ Card NI USB 6009 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงแบบแยกส่วนทางไฟฟ้าและการออกแบบส่วนของซอฟแวร์ ใช้โปรแกรมLab VIEW 2010 ประมวลผลและแสดงผลบนจอคอมพิวเตอร์ การแสดงผลบนจอคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วยการแสดงอัตราการเต้นของหัวใจคิดเป็นครั้งต่อนาที รูปกราฟคลื่นไฟฟ้าหัวใจและการแสดงอัตราการหายใจคิดเป็นครั้งต่อนาที รูปกราฟคลื่นการหายใจ มีการเตือนอย่างต่อเนื่องด้วยแสงและเสียงในกรณีอัตราการเต้นของหัวใจและอัตราการหายใจมีค่าสูงกว่าและต่ำกว่าระดับอ้างอิงที่ตั้งไว้ สมรรถภาพการทำงานของเครื่องโมนิเตอร์ถูกทดสอบในส่วนของอัตราการเต้นของหัวใจและอัตราการหายใจ ผลการทดสอบความแม่นยำในการตรวจวัดอัตราการเต้นของหัวใจเปรียบเทียบด้วยเครื่องเลียนแบบคลื่นไฟฟ้าหัวใจจากImpulse 6000D, Defibrillator/Analyzerพบว่ามีค่าเฉลี่ยความผิดพลาด0.3%จากค่าเฉลี่ยในการวัด70ครั้งต่อนาทีและผลการทดสอบความแม่นยำในการตรวจวัดอัตราการหายใจเปรียบเทียบด้วยเครื่องช่วยหายใจBENNETT 7200 Seriesพบว่ามีค่าเฉลี่ยความผิดพลาด1.58%จากค่าเฉลี่ยในการวัด27.5ครั้งต่อนาที มากไปกว่านั้นเครื่องโมนิเตอร์ยังถูกทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้าด้วยมัลติมิเตอร์Fluke189พบว่ามีกระแสไฟฟ้ารั่วไหลอยู่ในช่วงระหว่าง 0.15ไมโครแอมแปร์ถึง48.54ไมโครแอมแปร์เป็นไปตามมาตรฐานของECRI (Emergency Care Research Institute)ที่ได้กำหนดคือต้องมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ300ไมโครแอมแปร์ ผลการทดสอบระบบสัญญาณเตือนเครื่องโมนิเตอร์สามารถแสดงสัญญาณเตือนเมื่ออัตราการเต้นของหัวใจและอัตราการหายใจมีค่าสูงกว่าหรือต่ำกว่าระดับที่ได้จำกัดไว้en_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectเครื่องโมนิเตอร์ -- การออกแบบ -- วิจัยen_US
dc.subjectอุปกรณ์ชีวการแพทย์ -- วิจัยen_US
dc.subjectชีวการแพทย์ -- วัสดุและอุปกรณ์ -- วิจัย.en_US
dc.titleรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยการศึกษาออกแบบและสร้างเครื่องโมนิเตอร์ข้างเตียงผู้ป่วยen_US
dc.title.alternativeA study on the design and construction of patient bedside monitoren_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractThis research was intended to study the design and construction of patient bedside monitor for intensive care unit that can detect heart rate and respiration rate. This bedside monitor was designed based on hardware and software. The design of hardware part consisted of electrodes, transducer, isolation amplifier, signal processing, interfacing system by using DAQ Card NI USB 6009, personal computer and isolation power supply. The design of software part used a Lab VIEW 2010 student edition for evaluate and show the result through personal computer. The display consisted of heart rate in beats per minute, ECG waveform, and respiratory rate in breaths per minute, respiration waveform, continuously alarm with light and sound in the case of the heart rate or respiratory rate are upper or lower than the reference ranges. The monitor’s performance was tested for both the heart rate and respiratory rate. The accuracy of heart rate was compared with ECG Simulator function of Impulse 6000D, Defibrillator/Analyzer. The result found that the designed monitor had an average percentage error 0.3%, when average heart rate was set at70 beats per minute and the accuracy of respiratory rate was compared with BENNETT 7200 Series ventilator. The result found that the designed monitor had an average percentage error 1.58 %, when average respiratory rate was set at 27.5 breaths per minute. Furthermore, the electrical safety issue of the constructed monitor was tested by using the multimeter Fluke 189, it had a leakage current between 0.15µA to 48.54 µA which less than or equal to 300 µA according to Emergency Care Research Institute (ECRI).The result of warning system shown that it can alarm with light and sound when the heart rate and respiratory rate were upper or lower than the limited rate.en_US
Appears in Collections:Sci-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
THANAKORN YOOTHO.pdf26.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.