Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2298
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | กานดา ว่องไวลิขิต | - |
dc.date.accessioned | 2024-04-02T03:27:32Z | - |
dc.date.available | 2024-04-02T03:27:32Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2298 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มุ่งหวังศึกษาการเปรียบเทียบรูปร่างของผลึกนาโนของโลหะทองและทองแดงที่สังเคราะห์เมื่อใช้สารลดแรงตึงผิวที่แตกต่างกัน 5 ชนิด ได้แก่ CTAB (cetyl trimethyl ammonium bromide), SDS (Sodium Dodecyl sulfate) AOT (Dioctylsodiumsulfosuccinate), DDAB (Didodecylammo-niumbromide), NP9 (Nonylphenol ethoxylate n=9) โดยควบคุม pH เปรียบเทียบกัน 3 ค่า ได้แก่ pH 3 7 และ 11 ผลการศึกษาพบว่าทั้ง pH และ ชนิดของสารลดแรงตึงผิวมีผลต่อรูปร่างของโลหะทองและทองแดงนาโน รวมทั้งไม่พบว่าการใช้สารลดแรงตึงผิวชนิดเดียวกัน จะได้รูปร่างของทองและทองแดงแบบเดียวกัน ส่วนใหญ่แล้วที่ pH 3 ทั้งทองและทองแดงจะตกตะกอนในรูปที่เป็นทองและทองแดงบริสุทธิ์ ในขณะที่ pH 7 และ 10 ทองจะเกิดเป็นคอลลอยด์ของทองซึ่งจะเห็นเป็นสีแดงหรือม่วง โดยมีขนาดประมาณ 10 – 200 นาโนเมตร ผลการทดลองที่น่าสนใจส่วนใหญ่เกิดขึ้นกับทองแดงนาโน ที่ pH 3 จะได้ผลึกทองแดงบริสุทธิ์ที่มีรูปร่างเป็นแท่ง สามเหลี่ยม ไอโคซะฮีดรอล เป็นต้น แต่สาหรับที่ pH 7 และ 11 พบว่าผลึกนาโนที่ได้เป็นสารประกอบทองแดง (I) ออกไซด์ รูปร่างหลากหลายแบบขึ้นกับชนิดของสารลดแรงตึงผิว สาหรับที่ pH 11 ไม่พบการเป็นผลึกแต่จะพบการเกาะตัวเป็นรูปร่างที่ไม่ชัดเจน ซึ่งแสดงว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงมาก ผลการทดลองที่น่าสนใจมากที่สุดได้แก่การเกิดทรงกลมกลวงของทองแดง (I) ออกไซด์ เมื่อใช้ NP9 เป็นตัวกลางการสังเคราะห์ที่ pH 7 | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | โลหะ -- การสังเคราะห์ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ทองนาโน -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ทองแดงนาโน -- วิจัย | en_US |
dc.subject | สารลดแรงตึงผิว -- วิจัย | en_US |
dc.title | รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยการสังเคราะห์โลหะทองและทองแดงขนาดนาโนเมื่อใช้สารลดแรงตึงผิวเป็นตัวกลางการสังเคราะห์ | en_US |
dc.title.alternative | Synthesis of gold and copper nanoparticles mediated by surfactants | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | This work aimed to compare the shape resulted of synthesized nanocrystal between pure gold and copper when the reaction solution was mediated with different 5 surfactants, CTAB (cetyl trimethyl ammonium bromide), SDS (Sodium Dodecyl sulfate) AOT (Dioctylsodiumsulfosuccinate), DDAB (Didodecylammo-niumbromide), NP9 (Nonylphenol ethoxylate n=9), at three different pH (3 7 and 11). It was found that both pH and type of surfactants affected the shape of gold and coppernano. Moreover, none of corresponding results of shapes between nano-gold and nano-copper using the same surfactant was observed. At pH 3, both nanogold and copper were found as a pure metal while at pH 7 and 11, gold trended to form the colloid of gold performing in different color of red to purple and with 10 – 200 nm diameter size. Interesting results was on the production of copper nanocrystal. At pH 3, precipitated nanocrystal was pure copper with a variety geometrical shape such as rod, triangle, icosahedral etc. Instead, at pH 7 and 11, copper (I) oxide was obtained with a variety shape depending on type of surfactants. However, at pH 11, small clusters of unidentified shape were dominant suggesting the fast rate of reaction. The most interesting result was on the self-assembly of hollow sphere of copper (I) oxide when using NP9 when mediated at pH 7. | en_US |
Appears in Collections: | Sci-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
KANDA WONGWAILIKHIT.pdf | 4.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.