Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2307
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ทวีศักดิ์ อ่วมน้อย | - |
dc.date.accessioned | 2024-04-02T07:02:04Z | - |
dc.date.available | 2024-04-02T07:02:04Z | - |
dc.date.issued | 255 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2307 | - |
dc.description.abstract | การบริหารพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านยังมีปัญหาอยู่มาก เพราะไม่มีเกณฑ์บริหารที่แน่นอน สุดแท้แต่ละแห่งจะมีศักยภาพมากน้อยแค่ไหน ส่วนใหญ่แล้วเมื่อรวบรวมของใช้พื้นบ้านได้แล้ว ก็นำมาจัดแสดง บางแห่งก็จัดประเภทแยกเป็นหมวดหมู่ บางแห่งไม่แยกประเภทที่ชัดเจน ส่วนผู้เข้าชมและศึกษาก็พิจารณากันเองตามความเหมาะสม และบุคคลที่เข้าชมก็จะมองในรูปของของเก่า, ของแปลก และของที่ยังไม่เคยเห็น ถ้ามองถึงการได้รับประโยชน์ก็ไม่ชัดเจนว่า เมื่อดูแล้วจะนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านก็เลยขาดความสำคัญไป การวิจัยการบริหารพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน จะมุ่งเน้นการศึกษาของผลิตภัณฑ์เดิม แล้วนำมาพัฒนาทางด้านการออกแบบเพื่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ขึ้น และนำมาจัดแสดงในศูนย์พัฒนา ผลิตภัณฑ์ไทย ซึ่งได้จัดแสดงเป็นส่วนหนึ่งของพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน เพื่อให้นักเรียน, นักศึกษา และบุคคลทั่วไปได้มองเห็นความสำคัญของผลิตภัณฑ์เดิมของไทยได้อย่างเป็นรูปธรรม ผลการดำเนินงานได้ทำตัวอย่างผลงานผลิตภัณฑ์ใหม่ จัดแสดงในศูนย์พัฒนาผลิตภัณฑ์จำนวน 12 ชิ้น และได้จัดกิจกรรมให้กับนักเรียนระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา จำนวน 4 ครั้ง ได้แก่ กิจกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์, การออกแบบตัวขนมคุกกี้, การออกแบบเซรามิค และมัคคุเทศก์ ตลอดจนได้จัดทำเอกสารประชาสัมพันธ์ส่งไปให้แก่บุคคล และส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง และเปิดบริการให้เข้าชมโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น ทุกวันอาทิตย์ตั้งแต่เวลา 10.00-16.00 น. และเปิดให้บริการพิเศษเป็นหมู่คณะ หรือการจัดกิจกรรมตามความต้องการของท้องถิ่นเพื่อเป็นประโยชน์ในการพัฒนาท้องถิ่นที่ยั่งยืนต่อไป | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | พิพิธภัณฑ์ -- การบริหาร -- วิจัย | en_US |
dc.subject | พิพิธภัณฑ์ -- การตกแต่งภายใน -- วิจัย | en_US |
dc.title | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การจัดตั้งพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน วัดบางหลวง อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี | en_US |
dc.title.alternative | Local museum mangement at Wat Bang Luang, Muang District, Pathumthani | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | There are many problems in local museum management because of no specific management criterion, depends on each museum’s potentiality. On general practice, they display local products that can be gathered, some categorize the products but some don’t. From the visitor’s point of view, those products are seen as antique and rare things. And as thing goes on like this, the visitors can get no usefulness from the museum and the museum can lose its significance. Local museum management research will focus on the study of local products and the new design development. The results will be displayed in Thai Product Development Center as part of the Museum, for students and general visitors to see the significance of local Thai products concretely. As the results, the researcher make 12 new products and organize 4 activities for the primary and secondary school, that is product design, cookie design, ceramics product design and travel guidance activity. Furthermore, the bulletins are published and sent to the concerned personnel and bureaus. The museum is opened on Sunday from 10 a.m. to 4 p.m. for free or with specialty for group study or local activities for the benefit of local sustainable development. | en_US |
Appears in Collections: | Art-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TAWEESAK OUMNOI.pdf | 3.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.